ระบบทางเดินอาหารและการประยุกต์

ผู้เขียน: สมนึก นิลบุหงา

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 (0) เขียนรีวิว

225.00 บาท

250.00 บาท ประหยัด 25.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com เปิดคลังลด หนังสือลดเลย 10%

Tags: แพทย์ศาสตร์

225.00 บาท

250.00 บาท
250.00 บาท
ประหยัด 25.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
361 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
25.9 x 19 x 1.7 CM
น้ำหนัก
0.695 KG
บาร์โค้ด
9789740331940

รายละเอียด : ระบบทางเดินอาหารและการประยุกต์

           ระบบทางเดินอาหารประกอบด้วยโครงสร้างที่เป็นท่อตั้งแต่ช่องปากจนถึงทวารหนัก รวมทั้งต่อมต่างๆ เช่น ต่อมน้ำลาย ตับ ตับอ่อน ซึ่งแต่ละโครงสร้างมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การย่อยอาหารประกอบด้วย 2 ประเภท ได้แก่ การย่อยเชิงกลเป็นการบดเคี้ยว หรือการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ส่วนการย่อยทางเคมีต้องอาศัยเอนไซม์ช่วยย่อยการย่อยอาหารให้สมบูรณ์นั้นต้อง มีการเคลื่อนไหวของลำไส้และการหลั่งน้ำย่อยหรือสารเมือกที่เหมาะสม โดยถูกควบคุมจากระบบประสาททั้งที่สั่งการได้และระบบประสาทอัตโนมัติโดยมี หลายระดับ เช่น cephalic , gastric และ intestinal phases นอกจากนี้ต้องอาศัยฮอร์โมนและจุลชีพประจำถิ่นในทางเดินอาหารด้วย การย่อยอาหารประเภทต่างๆ นั้น มีการย่อยและการดูดซึมที่แตกต่างกัน เช่น คาร์โบไฮเดรตเริ่มถูกย่อยจากการบดเคี้ยวและเอนไซม์ amylase ในปาก ถูกย่อยต่อที่ลำไส้เล็กจากนั้นถูกดูดซึ่มในรูปของ monosaccharide สำหรับโปรตีนเริ่มถูกย่อยในกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็ก ถูกดูดซึมในรูปของ amino acid และ di-tripeptides สำหรับไขมันถูกย่อยในกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็กจะได้ไขมันขนาดเล็กจับกันเป็น micelle ถึงจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด สำหรับตับเป็นโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่อยู่ในช่องท้อง มีบทบาทหลายอย่าง เช่น ช่วยในการย่อยไขมัน เป็นแหล่งเมแทบอลิซึมของสารอาหาร (น้ำตาล โปรตีน ไขมัน) กำจัดสารพิษ และสะสมพลังงาน รวมทั้งแร่ธาตุกับวิตามิน ถ้ามีพยาธิสภาพของตับจะทำให้สูญเสียหน้าที่ไป อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดขึ้นกับชนิดและประเภทของพยาธิสภาพ เมื่อมีพยาธิสภาพทางเดินอาหาร จะมีอาการ/อาการแสดงได้หลายลักษณะ เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก ลำไส้อุดตัน ถ่ายเป็นเลือด อาเจียน ซึ่งอาการเหล่านี้อาจเป็นอาการร่วมหรือเป็นอาการของโรคใดโรคหนึ่งโดยเฉพาะ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%