การเมืองในการทหารไทย สมัยรัชกาลที่ 6

ผู้เขียน: เทพ บุญตานนท์

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

229.50 บาท

255.00 บาท ประหยัด 25.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

พระมหากษัตริย์, กองทัพ, และการเมืองเรื่องอำนาจในราชสำนักพระมงกุฎเกล้า < แสดงน้อยลง พระมหากษัตริย์, กองทัพ, และการเมืองเรื่องอำนาจในราชสำนักพระมงกุฎเกล้า
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

229.50 บาท

255.00 บาท
255.00 บาท
ประหยัด 25.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
349 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.1 x 21.3 x 1.8 CM
น้ำหนัก
0.386 KG
บาร์โค้ด
9789740214731

รายละเอียด : การเมืองในการทหารไทย สมัยรัชกาลที่ 6

"...เมื่อใดก็ตามที่พระมหากษัตริย์ทรงปราศจากภาพลักษณ์ของนักรบและไม่สามารถเป็นผู้นำให้แห่งทหารในกองทัพได้แล้ว สภาพความโหยหาผู้นำที่จะทำหน้าที่แทนพระมหากษัตริย์นี้เอง จะทำให้ทหารในกองทัพเริ่มมองหาคนที่มีภาพลักษณ์ของความเป็นนักรบ สถานการณ์เช่นนี้นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อผู้ปกครองประเทศ และโดยเฉพาะในกรณีของพระบาทสมเด็จทางการทหารอย่างแท้จริง และซ้ำร้ายไปกว่านั้น อำนาจทางการทหารเกือบทั้งหมดกลับตกอยู่ในมือของพระเชษฐาและพระอนุชาในพระองค์..."

คำนำ : การเมืองในการทหารไทย สมัยรัชกาลที่ 6

ภาพลักษณ์ของผู้ปกครองตั้งแต่อดีตมักผูกติดอยู่กับภาพลักษณ์ทหารตั้งแต่ในสมัยจักรวรรดิกรีกอย่างพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great) จักรวรรดิฝรั่งเศสกับเครื่องแบบทหารของนโปเลียน โบโนปาร์ต (Napoleon Bonaparte) จวบจนในปัจจุบัน ภาพของเชื้อพระวงศ์กับการทรงเครื่องแบบทหารในงายพระราชพิะียังคงเป็นภาพที่ปรากฏให้เห็นอยู่เสมอ แม้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์เหล่านั้นจะไม่ได้มีหน้าที่ราชการในกองทัพอย่างเป็นทางการ หากทว่าด้วยมิติความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนมากกว่าการเป็นผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครองเนื่องจากกองทัพเป็นหน่วงงานที่เปรียบเสมือนหลักประกันในความมั่นคงในอำนาจเป็นปฏปักษ์กับผู้ปกครองได้ในเวลาเดียวกัน ด้วยเหตุนี้การสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกับกองทัพเพื่อสร้างความยอมรับและจงรักภักดีจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อสถานะและความมั่นคงของตัวผู้ปกครองเอง

ภาพลักษณ์ของนักรบพระมหากษัตริย์เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์อย่างใหล้ชิด การยกย่องหรือกล่าวถึงวีรกรรมของพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งมักจะมีพระราชกรณียกิจทางการมหารเป็นปัจจัยสำคัญเช่นกรณีของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชที่ชนช้างกับเจ้าเมืองฉอด หรือ กรณีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ทรงชนช้างกับสมเด็จพระมหาอุปราช จวบจนกระทั่งสยามได้ปฏิรูปประเทศตามอย่างตะวันตก สถานะของพระมหากษัตริย์กับกองทัพได้ถูกกำกับอบ่างชัดเจนว่าทรงมีสถานะเป็น "จอมทัพ" หรือผู้นำสูงสุดในกองทัพ ซึ่งสถานภาพจอมทัพถูกสร้างขึ้นพร้อมกับวัฒนธรรมในกองทัพสมัยใหม่ที่ปลูกฝังให้ทหารในกองทัพเชื่อฟังและทำตามคำสั่ของผู้บังคับบัญชา

เทพ บุญตานนท์


สารบัญ : การเมืองในการทหารไทย สมัยรัชกาลที่ 6

    • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกองทัพ
    • กองทัพส่วนพระองค์
    • การพัฒนากองทัพเพื่อสร้างภาพลักษณ์ทางการทหาร
    • สงครามโลกครั้งที่ ๑ กับการสร้างภาพลักษณ์ทางการทหาร
    • งานพระนิพนธ์กับการสร้างภาพลักษณ์ทางการทหาร
    • กองทัพกับวาทกรรม "ชาติ ศาสน์ กษัตริย์"
    • บทสรุป
    • บรรณานุกรรม

     

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว