MINI เคมี ม.1-2-3

ผู้เขียน: สำราญ พฤกษ์สุนทร

สำนักพิมพ์: พ.ศ.พัฒนา

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , คู่มือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

0 (0) เขียนรีวิว

108.00 บาท

120.00 บาท ประหยัด 12.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 4 คะแนน

สรุปเนื้อหาแบบเข้มข้น พร้อมแบบฝึกสำหรับเตรียมสอบประจำภาค, เตรียสอบ O-NET, เตรียมสอบเข้า ม.4 < แสดงน้อยลง สรุปเนื้อหาแบบเข้มข้น พร้อมแบบฝึกสำหรับเตรียมสอบประจำภาค, เตรียสอบ O-NET, เตรียมสอบเข้า ม.4
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

108.00 บาท

120.00 บาท
120.00 บาท
ประหยัด 12.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 4 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
304 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.4 x 20.7 x 1.4 CM
น้ำหนัก
0.334 KG
บาร์โค้ด
9786162016295

รายละเอียด : MINI เคมี ม.1-2-3

สาร(substance)หมายถึง สิ่งต่างๆที่มีมวล ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ น้ำ อากาศ ต้นไม้ ก้อนหิน โลหะต่างๆ กระดาษ เป็นต้น

สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะประจำตัวของสารแต่ละชนิดซึ่งแตกต่างกันจากสารอื่น เช่น ทองแดงนำไฟฟ้าได้ แต่พลาสติกไม่นำไฟฟ้า ออกซิเจนอยู่ในสถานะแก๊สที่อุณหภูมิและความดันปกติแต่น้ำเป็นของเหลว น้ำส้มสายชูมีรสเปรี้ยวแต่น้ำเชื่อมมีรสหวาน น้ำมีจุดเดือด 100 C แต่เอทานอลมีจุดเดือด 78.5 C เป็นต้น สมบัติของสารแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

1. สมบัติทางกายภาพ หมายถึง สมบัติของสารที่ทราบได้จากการสังเกตุหรือทราบได้จากการทดลองง่ายๆ เช่น สี กลิ่น รส จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความแข็ง การนำไฟฟ้า การนำความร้อน ความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ ลักษณะผลึก เป็นต้น ตัวอย่างสมบัติทางกายภาพของสาร เช่น เหล็กเป็นของแข็งสีเทานำไฟฟ้าได้ดี น้ำกลั่นเป็นของเหลวไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส

2. สมบัติทางเคมี เป็นสมบัติที่ทราบได้โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือเป็นสมบัติที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจากสารหนึ่งไปเป็นสารอื่นๆ เช่น แก๊ส ไฮโตรเจนติดไฟกลายเป็นไอน้ำ ถ่านเมื่อเผาไฟไหม้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สังกะสี เมื่อทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกได้แก๊สไฮโตรเจน เหล็กซึ่งเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทิ้งไว้ในอากาศจะกลายเป็นสนิมเหล็ก ซึ่งมีสีน้ำตาล  รอบๆตัวเรามีสารต่างๆมากมาย มีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น สารต่างๆพบได้ทั้งในเปลือกโลกส่วนที่เป็นของแข็ง ในน้ำ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง ทะเล และในอากาศ สารบางชนิดมีสมบัติคล้ายกัน และบางชนิดมีสมบัติต่างกันที่สารบางชนิดมีสมบัติคล้ายกันจึงทำให้สามารถจัดสารออกเป็นหมวดหมู่ หรือเป็นกลุ่มๆได้

 


คำนำ : MINI เคมี ม.1-2-3

หนังสือ mini เคมีม.1-2-3 ผู้เขียนได้จัดทำขึ้นตามหลักสูตรใหม่ล่าสุดครอบคลุมเนื้อหาตามหนังสือของ สสวท.เล่มใหม่ล่าสุด แต่เนื้อหาละเอียดกว่าและเกินหลักสูตรถึงชั้นม.ปลาย เพื่อให้ครอบคลุมข้อสอบเข้าเรียนต่อชั้นม.4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยทั่วประเทศ และโรงเรียนอื่นๆ ที่ร่วมโครงการความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ การเรียบเรียงเนื้อหาจะเรียงลำดับจากง่ายไปหายาก เพื่อให้นักเรียนอ่านเข้าใจง่าย

สารบัญ : MINI เคมี ม.1-2-3

    บทที่ 1 สารรอบตัว

    1.1 การจำแนกสารรอบตัว

    • การจัดกลุ่มสารตามลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาค

    1.2 สารละลาย

    • หลักการพิจารณาตัวทำละลายและตัวละลาย
    • ชนิดของสารละลาย
    • สมบัติของสารละลาย

    1.3 สารบริสุทธิ์

    1.4 การตรวจสอบสารละลายและสารบริสุทธิ์

    1.5 ความเข้มข้นของสารละลาย

    ข้อสอบบทที่ 1 สารรอบตัว

    เฉลยละเอียดข้อสอบ บทที่ 1 สารรอบตัว

    บทที่ 2 ธาตูและสารประกอบ

    2.1 โมเลกุล

    2.2 ธาตุ

    • สัญลักษณ์ของธาตุ

    2.3 ประโยชน์ของโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะบางชนิด

    2.4 แบบจำลองและอะตอม

    2.5 เลขอะตอมและมวลเลข

    2.6 ไอโซโทป

    2.7ไอโซโทป โอโซโทน และไอโซอิเล็กทรอนิส์

    2.8 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด

    2.9 ตารางธาตุ

    • ตรารางธาตุในปัจจุบัน
    • ลักษณะสำคัญของธาตูภายในหมู่เดียวกัน
    • ลักษณะสำคัญของธาตุภายในคาบเดียวกัน
    • การบอกตำแหน่งของธาตุในตาราง เมื่อทราบการจัดอิเล็กตรอนหรือทราบเลขอะตอม
    • ธาตุกัมมันตรังสี

    2.10 สารประกอบ

    • การเกิดสารประกอบ
    • สมบัติของสารประกอบ
    • ประเภทของสารประกอบ

    ข้อสอบบทที่ 2 ธาตุและสารประกอบ

    เฉลยละเอียดข้อสอบ บทที่ 2 ธาตุและสารประกอบ

    บทที่ 3 สารละลายกรด-เบส

    3.1 สมบัติของสารละลายกรด

    3.2 สมบัติของสารละลายเบส

    3.3 การเรียกชื่อกรดอนินทรีย์และการเรียกชื่อเบส

    • การเรียกชื่อกรดอนินทรีย์
    • การเรียกชื่อเบส

    3.4 การตรวจสอบความเป็นกรด

    3.5 เกลือ

    • ประเภทของเกลือ

    3.6 pH ของสารละลาย

    3.7 การใช้อินดิเคเตอร์บอกความเป็นกรด-เบส ของสารละลาย

    3.8 สารละลาย-เบส ในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต

    • การใช้สารที่มีสมบัติเป็นกรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
    • ยาลดกรด

    3.9 ผลของสภาพแวดล้อมต่อค่า pH ของสารละลาย

    ข้อสอบบทที่3 สารละลาย-เบส

    เฉลยละเอียดข้อสอบ บทที่3 สารละลายกรด-เบส

    บทที่ 4 การแยกสาร

    4.1 การกรอง

    4.2 การตกตะกอน

    4.3 การระเหย

    4.4 การตกผลึก

    4.5 การกลั่น

    4.6 การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำ

    4.7 ใช้กรวยแยก

    4.8 การสกัดด้วยตัวทำละลาย

    4.9 โครมาโทกราฟี

    ข้อสอบบทที่ 4 การแยกสาร

    เฉลยละเอียดข้อสอบ บทที่ 4 

    บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของสาร

    5.1 การเปลี่ยนแปลงของสาร

    5.2 สถานะของสาร

    • พลังงานกับการเปลี่ยนสถานะของสาร
    • การคำนวณหาปริมาณพลังงาน(ความร้อน) ที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ

    5.3 การถ่ายโอนความร้อน

    5.4 การละลายของสาร

    5.4.1สภาพการละลาย

    5.5 ปฏิกิริยาเคมี

    5.5.1 การสมดุลสมการเคมี

    5.6 พลังงานการเกิดปฏิกิริยาเคมี

    5.7 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

    • ปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สหุงต้ม
    • ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
    • ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริก ในน้ำยาล้างห้องน้ำกับแคลเซียมคาร์บอเนตซึ่งเป็นส่วนผสมของปูนขาวที่ใช้เชื่อมต่อกระเบื้องในห้องน้ำ
    • ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงของพืช
    • ปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดแก๊สพิษในอากาศและเกิดฝนกรด
    • ปฏิกิริยาการหายใจระดับเซลล์
    • ปฎิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
    • ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
    • ปฎิกิริยาการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำโดยแบคทีเรีย

    5.8 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

    • การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
    • ปัจจัย ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

    ข้อสอบบทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของสาร

    เฉลยละเอียดข้อสอบ บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลง

    บรรณานุกรม

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว