ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

ผู้เขียน: วาทิต ชาติกุล

สำนักพิมพ์: กรีน-ปัญญาญาณ

หมวดหมู่: ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา , ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา

0 (0) เขียนรีวิว

171.00 บาท

190.00 บาท ประหยัด 19.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

เปิดหน้าประวัติศาสตร์ เผยตำนานชีวิต และมรดกที่ไม่มีวันตายของมือปราบสะท้านแผ่นดิน < แสดงน้อยลง เปิดหน้าประวัติศาสตร์ เผยตำนานชีวิต และมรดกที่ไม่มีวันตายของมือปราบสะท้านแผ่นดิน
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

Tags: ประวัติศาสตร์ , ขุนพันธ์ , พันธรักษ์ราชเดช , บุคคลสำคัญ

171.00 บาท

190.00 บาท
190.00 บาท
ประหยัด 19.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
0 x 0 x 0 CM
น้ำหนัก
0.239 KG
บาร์โค้ด
9786165266185

รายละเอียด : ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

เรื่องราวของ "ขุนพันธรักษ์ราชเดช" อดีตรายตำรวจชื่อดังผู้มีคุณูปการต่อประเทศไทย มือทราบผู้เด็ดเดี่ยว ยอมหักไม่ยอมงอเป็นบุคคลที่ถูกประวัติศาสตร์จารึกในฐานะการปราบปรามขุนโจรโดยเฉพาะทางภาคกลางและภาคใต้ ขุนพันธฯ จึงได้ถูกตั้งฉายาไว้มากมาย อาทิ

"มือปราบตาบแดง" อันมาจากการสะพายถุงผ้าสีแดงที่ห่อดาบประจำตระกูลพระยาพิชัยดาบหัก

"มือปราบขมังเวทย์" อับสืบเนื่องมาจากการเล่าเรียนวิทยาคมจากสายเข้าอ้อและมีครูบาอาจารย์เป็นเกจิชื่อดังแห่งยุตอีกหลายท่าน อีกทั้งในการออกรบแต่ละครั้ง ยังได้ใช้วิชาอาคมในการสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา

"อัศวินพริกขี้หนู" ได้มาจาดฝีมืออันเก่งที่ซ่อนอยู่ในกร่างเล็กกะทัดรัด นับเป็นคำยกย่องจากชาวไทยมุสลิมด้วยนาม "รายอกะจิ" ซึ่งมีความหมาว่า "ราชาร่างเล็ก" ให้คราวที่ได้ปราบปราม "อะแวสดอ" จอมโจรขมังเวทย์ ผู้เหี้ยมโหด ลงได้ด้วยมือเปล่า

เพียงแคนำฉายามาเกริ่นก็มีเรื่องเล่นอันมากมายไม่รู้จบ ซึ่งเป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ "ขุนพันธฯ ไม่มีวันตาย"


สารบัญ : ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

    • ประวัติสายสกุลพันธรักษ์ราชเดช
    • ขุนพันธรักษ์ราชเดชกับศาสตร์ทางไสยเวท
    • ภูมิปัญญาปราบปรามของขุนพันธรักษ์ราชเดช
    • เปิดกรุของขลังขุนพันธฯ
    • สร้างหลักเมืองนครศรีธรรมราช ๒๕๓๐
    • หวานถ้อย คำรส บทกวี

เนื้อหาปกหลัง : ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

เผยเรื่องราวขุนพันธฯ มือปราบท้านแผ่นดิน ผู้สืบสายสกุลเจ้าเมืองนครฯ มาแต่โบราณร่ำเรียนวิชาศัสตราวุธ ไสยเวทจนเกิดเป็นภูมิปัญญาล้ำค่า เปิดกรุศัสตราวุธของขลังประจำตัว

"จุตคามรามเทพ"

ในแง่มุมผู้สร้าง ที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน



รีวิวโดยผู้เขียน : ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

หนังสือ "อาทิตย์" รายสัปดาห์ ในตอนนั้นเป็นช่วงผู้หลักผู้ใหญ่ให้อิสรภาพในการนำเสนอหัวข้อและข่าวสารได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องยึดติดกับข่าวสารการเืมืองอย่างที่ผ่านๆ มา และเป็นความเห็นพ้องของผู้ก่อตั้ง ผู้หลักผู้ใหญ่ และการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ศิวิไลช์ไม่น่าจะสำเร็จได้ด้วยนโยบายจากการเมืองพรรคต่างๆ การแก้กฏหมาย หรือการสร้างเสรืมเศรษฐกิจให้เฟื่องฟุ้งแต่สังคมจะมีความวิไลได้ น่าจะเกิดจากการมี หิริ โอตัปปะ (ความละอายและเหรงกลัวต่อบาป)

"อาทิตย์" รายสัปดาห์ในยุคนั้นจึงไม่ค่อยเป็นที่ประทับใจบรรดาแฟนๆ อาทิตย์ในยุคคนเดือนตุลาฯ เสียเท่าไร แต่เป็นสิ่งแปลกใหม่ที่สังคมกำลังเพ่งมองอย่างงุนงง แม้แต่พวกเราเองก็ยังงุนงงเช่นกัน ที่หนังสือการเมืองชื่อดัง หันมาทำข่าวและเสนอเรื่องราวบาปบุญคุณดทษให้ผู้คนมีหิริโอตัปปะ จนมีคำแซวให้ได้ยินหรือแม้แต่พวกเรายังแซวกันเองว่าเป็น "อาทิตย์ จิตวิญญาณ"



รีวิวโดยสำนักพิมพ์ : ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

ขุนพันธ์ ไม่มีวันตาย

เรื่องราวของ "ขุนพันธรักษ์ราชเดช" อดีตรายตำรวจชื่อดังผู้มีคุณูปการต่อประเทศไทย มือทราบผู้เด็ดเดี่ยว ยอมหักไม่ยอมงอเป็นบุคคลที่ถูกประวัติศาสตร์จารึกในฐานะการปราบปรามขุนโจรโดยเฉพาะทางภาคกลางและภาคใต้ ขุนพันธฯ จึงได้ถูกตั้งฉายาไว้มากมาย อาทิ

"มือปราบตาบแดง" อันมาจากการสะพายถุงผ้าสีแดงที่ห่อดาบประจำตระกูลพระยาพิชัยดาบหัก

"มือปราบขมังเวทย์" อับสืบเนื่องมาจากการเล่าเรียนวิทยาคมจากสายเข้าอ้อและมีครูบาอาจารย์เป็นเกจิชื่อดังแห่งยุตอีกหลายท่าน อีกทั้งในการออกรบแต่ละครั้ง ยังได้ใช้วิชาอาคมในการสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา

"อัศวินพริกขี้หนู" ได้มาจาดฝีมืออันเก่งที่ซ่อนอยู่ในกร่างเล็กกะทัดรัด นับเป็นคำยกย่องจากชาวไทยมุสลิมด้วยนาม "รายอกะจิ" ซึ่งมีความหมาว่า "ราชาร่างเล็ก" ให้คราวที่ได้ปราบปราม "อะแวสดอ" จอมโจรขมังเวทย์ ผู้เหี้ยมโหด ลงได้ด้วยมือเปล่า

เพียงแคนำฉายามาเกริ่นก็มีเรื่องเล่นอันมากมายไม่รู้จบ ซึ่งเป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ "ขุนพันธฯ ไม่มีวันตาย"

สำนักพิมพ์ กรีน ปัญญาญาณ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว