เศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน

ผู้เขียน: สุภาณี หาญพัฒนะนุสรณ์

สำนักพิมพ์: ม.เกษตรศาสตร์

หมวดหมู่: บริหาร ธุรกิจ , การเงิน การลงทุน

0 (0) เขียนรีวิว

198.00 บาท

220.00 บาท ประหยัด 22.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 คะแนน

การวัดขนาดของระบบเศรษฐกิจ การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ การผลิต การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ < แสดงน้อยลง การวัดขนาดของระบบเศรษฐกิจ การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ การผลิต การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com เปิดคลังลด หนังสือลดเลย 10%

Tags: คู่มือการเรียนการสอน , ระบบเศรษฐกิจ , ตำราเรียน

198.00 บาท

220.00 บาท
220.00 บาท
ประหยัด 22.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
300 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
18.4 x 25.9 x 1.6 CM
น้ำหนัก
0.56 KG
บาร์โค้ด
9786165561822

รายละเอียด : เศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน

เศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน

ตำราเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนในวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐานสำหรับผู้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และสำหรับเป็นพื้นฐานให้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคในระดับสูงต่อไป นอกจากนี้ ยังเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐานโดยตำราเล่มนี้ ผู้เขียนได้รวบรวมและเรียบเรียง จากเอกสารคำสอน ตำรา และหนังสือเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐานทั้งใน และต่างประเทศ ที่ใช้เพื่อประกอบการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนการสอนในวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค


สารบัญ : เศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน

    • ความรู้พื้นฐานวิชาเศรษฐศาสตร์
    • การวัดขนาดของระบบเศรษฐกิจ
    • การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพ
    • การวัดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ
    • การผลิตและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
    • การว่างงาน
    • ตลาดการเงิน
    • ระบบการเงิน
    • การขยายตัวของปริมาณเงินและอัตราเงินเฟ้อ

เนื้อหาปกหลัง : เศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน

เศรษฐศาสตร์มหภาคเป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาระบบเศรษฐกิจในภาพรวม เนื้อหาในตำราเล่มนี้จะเป็นพื้นฐานของการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคในระดับสูงต่อไป โดยให้รายละเอียดความรู้เรื่องการวัดขนาดของระบบเศรษฐกิจ การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ การผลิต การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นตัวแปรที่มีความสำคัญในเศรษฐศาสตร์มหภาค รวมทั้งแบบจำลองอย่างง่าย เพื่อการอธิบายกลไกการทำงานและความเชื่อมโยงของตัวแปรข้างต้นในระบบเศรษฐกิจ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%