คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

ผู้เขียน: ประหยัด นิชลานนท์

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

153.00 บาท

170.00 บาท ประหยัด 17.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ศาสนา ขนธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ การศึกษา การละเล่นและกีฬา และการพนัน < แสดงน้อยลง ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ศาสนา ขนธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ การศึกษา การละเล่นและกีฬา และการพนัน
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

Tags: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 7 , การเมืองการปกครอง , ประวัติศาสตร์ไทย , กรุงรัตนโกสินทร์ , หนังสือชุดแลอดีต เล็งอนาคต

153.00 บาท

170.00 บาท
170.00 บาท
ประหยัด 17.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
0 x 0 x 0 CM
น้ำหนัก
0 KG
บาร์โค้ด
9786169261247

รายละเอียด : คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7 เป็นหนังสือ 1 ในชุด "แลอดีต เล็งอนาคต : การปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 7" โดยใช้ชืื่อหนังสือตามลำดับการจัดพิมพ์ ดังต่อไปนี้

  • เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 : รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา
  • การศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 7 : ขยายโอกาส มุ่งคุณภาพ พร้อมคุณธรรม
  • ตัวตนใหม่ของสยามในโลกา : การต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ 7
  • ฝรั่งมองไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 : ตะวันออกที่ศิวิไลซ์?
  • ประชาธิปกกาลสมัยในกระแสธารประวัติศาสตร์
  • คันฉ่องฝรั่งเศลส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

สาระสำคัญของหนังสือเล่มนี้ : เน้นภาพสังคมสยามในสมัยรัชกาลที่ 7 ในสายตาของชาวฝรั่งเศส ไม่เฉพาะของทางราชการ แต่รวมถึงของมิชชันนารีฝรั่งเศสซึ่งพำนักอยู่ในสยามด้วย เอกสารชั้นต้นภาษาฝรั่งเศสมีข้อมูลหลายด้าน หลายประเภทและน่าสนใจ ตั้งแต่ผลของสภาพทางภูิมิศาสตร์ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ความหลากหลายทางชนชาติ ศาสนา การศึกษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนการละเล่น การกีฬา และการพนัน ข้อมูลเหล่านี้ไม่เพียงแต่ช่วยให้เราทราบถึงสภาพสังคมไทยในสมัยนั้น แต่บางช่วงบางตอนยังแสดงให้เห็นถึงความคิดและทัศนคติที่ผู้บันทึกข้อมูลของฝรั่งเศสมีต่อสังคมไทยด้วย


คำนำ : คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

มูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี มีความเป็นมาสืบเนื่องมาจากครั้งที่ระหว่า พ.ศ. 2493 และ พ.ศ.2511 สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ได้เสด็จฯ ไปประทับทรงทำสวนทำไร่อยู่ในชนบทที่สวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี และได้ทรงประสบด้วยพระองค์เองถึงความขาดแคลนอุปกรณ์การแพทย์การพยาบาลของโรงพยาบาลประจำจังหวัดนั้น จึงได้ทรงพระกรุณาโปรกเกล้าฯ ให้สร้างตึกผ่าตัดที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้นพระราชทาน ทรงพระราชอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยการทรงตั้งชื่อว่า "ตึกประชาธิปก" และได้ทรงตั้ง "ทุนประชาธิปก" ขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจการของโรงพยาบาลดังกล่าว  (ซึ่งต่อมารัฐบาลได้ปรับปรุงและเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี) วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า และวิทยาลัยครูจันทบุหรี (ซึ่งเข้าไปตั้งอยู่ในบริเวณสวนบ้านแก้ว ที่ประทับเดิม) ซึ่งปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยรภัฏรำไพพรรณี


เนื้อหาปกหลัง : คันฉ่องฝรั่งเศส ส่องสังคมสยามสมัยรัชกาลที่ 7

ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ศาสนา ขนธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ การศึกษา การละเล่นและกีฬา และการพนัน เป็นภาพที่เอกสารชั้นต้นภาษาฝรั่งเศสทั้งของรัฐและของมิชชันนารีให้เกี่ยวดับสังคมสยามในสมัยรัชกาลที่ 7 ทั้งยังสะท้อนความคิดและทัศนคติของคนฝรั่งเศสผู้บันทึกเองด้วย

 

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว