พระศรีสรรเพชญ์ ไม่ถูกไฟเผาลอกทอง ตอนกรุงแตก

ผู้เขียน: วิราวรรณ นฤปิติ

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

216.00 บาท

240.00 บาท ประหยัด 24.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

กองทัพอังวะ ไม่ได้เอาไฟเผาลอกทองพระศรีสรรเพชญ์ กรุงอยุธยาเพราะพบพระเศียรมหึมา อยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร < แสดงน้อยลง กองทัพอังวะ ไม่ได้เอาไฟเผาลอกทองพระศรีสรรเพชญ์ กรุงอยุธยาเพราะพบพระเศียรมหึมา อยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

216.00 บาท

240.00 บาท
240.00 บาท
ประหยัด 24.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
184 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 21.3 x 1 CM
น้ำหนัก
0.251 KG
บาร์โค้ด
9789740215431

รายละเอียด : พระศรีสรรเพชญ์ ไม่ถูกไฟเผาลอกทอง ตอนกรุงแตก

พระศรีสรรเพชญ์ ไม่ถูกไฟเผาลอกทอง ตอนกรุงแตก

เรื่องหนึ่งที่เป็นเสี้ยนตำใจแม้ใครอยากจะบ่งออกแต่ก็กลัวเจ็บปวด จนในท้ายที่สุดก็ให้มันคาอยู่จนเป็นหนองแล้วแห้งเป็นแผลเป็นแบบนั้นเพราะเกียรติภูมิของมูลนายครั้งกรุงศรีอยุธยาที่มีชีวิตรอดมาจนตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ที่คนในยุค พ.ศ.2559 มโนนึกคล้อยตามว่าการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 มีผลกระทบสำคัญที่เราไม่ควรให้อภัยคือเรื่องกรุงอังวะเผาพระศรีสรรเพชญ์เพื่อลอกเอาทองออกไปทั้งองค์ ถือเป็นเรื่องเล่าที่กระทบต่อความรู้สึกต่อพสกนิกร และยิ่งตอกย้ำภาพของอังวะในฐานะของศัตรูในหมวดพระพุทธศาสนา จนในที่สุดจึงส่งผลในแบบเรียน แต่ว่าความจริงหากเป็นเช่นนั้นหรือไม่

 

 


สารบัญ : พระศรีสรรเพชญ์ ไม่ถูกไฟเผาลอกทอง ตอนกรุงแตก

    • พระศรีสรรเพชญ์
    • พระศรีสรรเพชญ์ หลังสงครามเสียกรุง
    • พระศรีสรรเพชญ์สมัยธนบุรี-รัตนโกสินทร์
    • เศียรพระศรีสรรเพชญ์ที่พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน

เนื้อหาปกหลัง : พระศรีสรรเพชญ์ ไม่ถูกไฟเผาลอกทอง ตอนกรุงแตก

พระศรีสรรเพชญ์ กรุงศรีอยุธยา ประวัติศาสตร์ไทยบอกว่าถูกไฟคลอกเผาทำลายย่อยยับ เมื่อกรุงแตก พ.ศ. 2310 (250 ปีมาแล้ว) แต่พบหลักฐานใหม่ว่ากองทัพอังวะ ไม่ได้เอาไฟเผาลอกทอง เพราะเศียรพระศรีสรรเพชญ์ขนาดมหึมาตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร หลักฐานแท้จริงอย่างไร? ทางการไม่เคยแบ่งปันเผยแพร่สู่สาธารณชน  แต่หนังสือเล่มนี้มีเปิดเผยแบ่งปันมากที่สุด

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว