ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย

ผู้เขียน: รื่นฤทัย สัจจพันธุ์

สำนักพิมพ์: นาคร/Nakorn

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , หนังสือสารคดี

0 (0) เขียนรีวิว

504.00 บาท

560.00 บาท ประหยัด 56.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 20 คะแนน

โครงการวิจัย เครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ : การวิจัยและพัฒนา < แสดงน้อยลง โครงการวิจัย เครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ : การวิจัยและพัฒนา
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com เปิดคลังลด หนังสือลดเลย 10%

504.00 บาท

560.00 บาท
560.00 บาท
ประหยัด 56.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 20 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
688 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 20.9 x 3.7 CM
น้ำหนัก
0.823 KG
บาร์โค้ด
9786167184722

รายละเอียด : ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย

ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย

หนังสือ ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ : ทัศนะของนักวิชาการไทย จึงเป็นความพยายามของโครงการวิจารณ์ที่จะนำเสนอองค์ความรู้ข้อคิด และความเห็นในเรื่องทฤษฎีการวิจารณ์เพื่อประโยชน์ในแวดวงการศึกษาและแวดวงศิลปะสาขาต่างๆ หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทความ 13 บท หลายบทความกล่าวถึงทฤษฎีและการนำทฤษฎีไปใช้ในการวิจารณ์หลายบทความเป็นความคิดเห็นเชิงทฤษฎีถึงความสัมพันธ์ของศิลปะกับบริบททางสังคม หลายบทความแสดงความพยายามสร้างทฤษฎีขึ้นจากองค์ความรู้ที่มีรากฐานของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ยังมีบทบาทความนอกสาขาของโครงการวิจัย เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ เป็นที่ยอมรับกับว่าทฤษฎีที่เป็นกระแสหลักล้วนมาจากตะวันตกทั้งสิ้น เพราะระบบการศึกษาไทยเดินตามแบบแผนของตะวันตก บทความในหนังสือ ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ : ทัศนะของนักวิชาการไทย นำเสนอทฤษฎีการวิจารณ์แนวใหม่ของตะวันตก เช่น การวิจารณ์แนวโครงสร้างนิยม การวิจารณ์แนวนิเวศสำนึก การวิจารณ์แนวสตรีนิยม การวิจารณ์แนววัฒนธรรมศึกษา เป็นต้น


สารบัญ : ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย

    • ข้อคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับบทบาทของทฤษฎีในกระบวนการวิจัยทางมนุษยศาสตร์
    • ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต อีกมุมมองหนึ่ง
    • มโนทัศน์เรื่องวรรณคดีในภูมิปัญญาไทย
    • ข้อสังสังเกตบางประการในการวิจารณ์ดนตรีไทย
    • คืนการเมืองให้ศิลปะ

เนื้อหาปกหลัง : ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะทัศนะของนักวิชาการไทย

หนังสือ ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ : ทัศนะของนักวิชาการไทย  เป็นความพยายามของโครงการวิจัยการวิจารณ์ที่จะนำเสนอองค์ความรู้ ข้อคิด และความเห็นในเรื่องทฤษฎีการวิจารณ์เพื่อประโยชน์ในแวดวงการศึกษาและแวดวงศิลปะสาขาต่างๆ หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทความ 13 บทหลายบทความกล่าวถึงทฤษฎีและการนำทฤษฎีไปใช้ในการวิจารณ์หลายบทความเป็นความคิดเห็นเชิงทฤษฎีถึงความสัมพันธ์ของศิลปะกับบริบททางสังคมหลายบทความแสดงความพยายามสร้างทฤษฎีขึ้นจากองค์ความรู้ที่มีรากฐานของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทยและมีบทความของนักวิชาการนอกสาขาของโครงการวิจัยที่ใช้ทฤษฎีหรือสร้างทฤษฎีของตนอันเป็นตัวอย่างที่น่าสนใจยิ่งสำหรับนักวิจารณ์และนักวิชาการด้านศิลปะ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%