เจ้าพ่อ

ผู้เขียน: อาจินต์ ปัญจพรรค์

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือเด็ก , นิทานสองภาษา

0 (0) เขียนรีวิว

270.00 บาท

300.00 บาท ประหยัด 30.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

นวนิยายที่สะท้อนการต่อสู้ของ เจ้าขุนมูลนาย กับ นักเลงลูกทุ่ง ได้อย่างชัดเจน < แสดงน้อยลง นวนิยายที่สะท้อนการต่อสู้ของ เจ้าขุนมูลนาย กับ นักเลงลูกทุ่ง ได้อย่างชัดเจน
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

Tags: นวนิยายไทย , นวนิยาย , นิยาย

270.00 บาท

300.00 บาท
300.00 บาท
ประหยัด 30.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21.3 x 2.1 CM
น้ำหนัก
0.411 KG
บาร์โค้ด
9789740215394

รายละเอียด : เจ้าพ่อ

เจ้าพ่อ

สาระของนวนิยายเรื่องนี้ กล่าวถึงการลบเหลี่ยม เฉือนคมระหว่างข้าราชการหนุ่มผู้มุ่งมั่นกับงานฝ่ายปกครอง กระทั่งเป็นถึงผู้ว่างานเมือง ขณะชายหนุ่มอีกคนซึ่งมียศถาเป็นเสือป่าก็มุ่งมั่นกับการสร้างชีวิตเป็นเจ้าพ่อ ทวาชีวิตอีกด้านก็ลุ่มหลงอบายมุขทั้งฝิ่นและการพนัน กระนั้นชายหนุ่มทั้งสองก็ยังเกี่ยวดองในฐานะคนร่วมยุคสมัยเดียวกัน

นวนิยายเจ้าพ่อ ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกของ เจ้าพ่อ-เจ้าเมือง เล่มนี้ จึงเป็นงานเขียนที่ปลุกบรรยากาศริมแม่น้ำและท้องทุ่งในเขตนครชัยศรีและสุพรรณบุรีให้ตื่นฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง


คำนำ : เจ้าพ่อ

เจ้าพ่อ กับ เจ้าเมือง เป็นงานที่ผม อาจินต์ ปัญจพรรค์ สร้างขึ้นด้วยความสุข เป็นสุขตั้งแต่การเปิดเรื่องด้วยเสียงร้องกะลาสีเรือเมลย์ จากงิ้วรายของจังหวัดนครปฐมไปยังจังหวัดสุพรรณบุรี อันมีคำคล้องอย่างตรึงใจชาวแม่น้ำยุค 2461 ชาวแม่น้ำนครชัยศรีทุกคนท่องได้ขึ้นใจว่า

"บางระกำ ลำพระยา บางปลา สองพี่น้อง บางปลาม้า เก้าห้อง ลอยละล่องขึ้นสุพรรณ"


สารบัญ : เจ้าพ่อ

    • เรือเมล์สายสุพรรณ
    • ลูกสาวนายอำเภอ
    • ปลัดหน้าใหม่
    • คำทำนาย
    • ผู้หวังดี
    • รายงานตัว
    • รถเมล์ไปจังหวัด
    • ปลายทาง
    • แฟชั่นบางกอก
    • คนหาย
    • พี่น้องสวนทาง

เนื้อหาปกหลัง : เจ้าพ่อ

ขณะเขียน

ข้าพเจ้าเป็นสุขด้วยการระลึกชาติเข้าไปในความ "รู้ก่อนเถิด" สืบสานด้วยเรื่องที่รู้จริงและที่ญาติผู้ใหญ่เล่าไว้ เป็นสุขในการค้นคว้าเข้าไปในสมุดข่อยหนังสือโบราณ คนเก่าๆ อัจฉริยะของกฎหมายเก่า บ้างบางอันมีชีวิตแบบเก่าๆ สืบค้นสืบถามตำนานจากคนแก่คนเก่าคนเฒ่าเจ้าอาวาส โดยไป "เผชิญสืบ" ถึงที่เกิดเหตุ

คนไม่เคยปืน จะพูดเบ่งว่า "อะไรไม่จริงเหมือนยิงปืน" ขณะคนที่รู้รสชาติของปืนมาแล้วกลับพูดว่า "อะไรไม่จริงเหมือนกินข้าว" คนผ่านชีวิตมาโชกโชน กลับรำพึงว่า "อะไรไม่จริงเหมือนความตาย" นี่คือปรัชญาชีวิตของคนที่นั่น

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว