ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

ผู้เขียน: เพลิง ภูผา

สำนักพิมพ์: สยามความรู้

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

112.50 บาท

125.00 บาท ประหยัด 12.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 4 คะแนน

การทูต การค้าพาณิชย์ การสงคราม และหลายเหตุการณ์สุ่มเสี่ยงที่จะเสียอำนาจอธิปไตยของสยาม < แสดงน้อยลง การทูต การค้าพาณิชย์ การสงคราม และหลายเหตุการณ์สุ่มเสี่ยงที่จะเสียอำนาจอธิปไตยของสยาม
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

112.50 บาท

125.00 บาท
125.00 บาท
ประหยัด 12.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 4 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
240 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 20.3 x 1.2 CM
น้ำหนัก
0.284 KG
บาร์โค้ด
9786164410954

รายละเอียด : ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

"อยุธยา" มีการติดต่อกับชาวต่างชาติทั้งประเทศเอเชียด้วยกัน และประเทศตะวันตกจากการค้าขายกับราชสำนัก และการเข้ามาเผยแพร่ศาสนาเป็นสำคัญ วิทยาการและความรู้ต่างๆ จึงได้รับการถ่ายทอดมาสู่อยุธยาด้วย ทั้งเรื่องของสิ่งปลูกสร้าง วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ผังเมือง การดำเนินนโยบายการต่างประเทศจึงเป็นสิ่งสำคัญ "พระมหากษัติรย์" ทรงผูกมิตรกับทุกชาติที่เข้ามาติดต่อ เพื่อเป็นการดุลอำนาจกับทุกชาติที่เข้ามาติดต่อ เพื่อเป็นการดุลอำนาจลดการสร้างเงื่อนไขไม่ให้ชาติหนึ่งชาติใดมีอิทธิพลเหนืออยุธยา เปิดบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ ลำดับเหตุการณ์ความสัมพันธ์ และข้อขัดแย้งของข้าราชบริพารสยาม ซึ่งก่อให้เกิดข้อพิพาททุกเหตุการณ์อันระทึก ถูกบันทึกในหนังสือเล่มนี้แล้ว


สารบัญ : ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

    • การค้าระหว่างอยุธยา กับมหาสมุทรอินเดีย
    • อยุธยา เมืองนาวานคร ที่ต่างชาติต้องการคบค้า
    • โปรตุเกส ชาติตะวันตกแรก ที่เข้ามาในอยุธยา
    • กองทหารอาสาโปรตุเกส
    • วิทยาการด้านการทหาร และการป้องกันประเทศ
    • การศึกทั้งสองฝ่ายพึ่งโปรตุเกส
    • ทหารโปรตุเกส สร้างความดีความชอบ
    • ท้าวทองกีบม้า เจ้าของต้นตำรับ ขนมทองหยิบ ฝอยทอง สังขยา
    • ชะตากรรมของชาวโปรตุเกส ภายหลังการเสียกรุงฯ พ.ศ. 2310
    • การเข้ามาของฮอลันดาเพื่อขยายอำนาจในสมัยอยุธยา
    • การค้าแบบนายหน้าของฮอลันดา
    • ฮอลันดาเข้าข้างพวกกบฏสงขลา
    • ความสัมพันธ์ทางด้านการทหารในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ
    • อังกฤษเห็นลู่ทางการค้ากับสยาม
    • อังกฤษและฮอลันดายึดเมืองสงขลา

เนื้อหาปกหลัง : ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

"อยุธยา" มีการติดต่อกับชาวต่างชาติทั้งประเทศเอเชียด้วยกัน และประเทศตะวันตกจากการค้าขายกับราชสำนัก และการเข้ามาเผยแพร่ศาสนาเป็นสำคัญ วิทยาการและความรู้ต่างๆ จึงได้รับการถ่ายทอดมาสู่อยุธยาด้วย ทั้งเรื่องของสิ่งปลูกสร้าง วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ผังเมือง การดำเนินนโยบายการต่างประเทศจึงเป็นสิ่งสำคัญ "พระมหากษัติรย์" ทรงผูกมิตรกับทุกชาติที่เข้ามาติดต่อ เพื่อเป็นการดุลอำนาจกับทุกชาติที่เข้ามาติดต่อ เพื่อเป็นการดุลอำนาจลดการสร้างเงื่อนไขไม่ให้ชาติหนึ่งชาติใดมีอิทธิพลเหนืออยุธยา เปิดบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ ลำดับเหตุการณ์ความสัมพันธ์ และข้อขัดแย้งของข้าราชบริพารสยาม ซึ่งก่อให้เกิดข้อพิพาททุกเหตุการณ์อันระทึก ถูกบันทึกในหนังสือเล่มนี้แล้ว

รีวิวโดยผู้เขียน : ข้าราชบริพารและหมู่บ้านชาวต่างประเทศในแผ่นดินอยุธยา

การเข้ามาอยุธยาของชาวตะวันตกมุ่งหมายเพื่อการค้าขายและการเผยแพร่คริสต์ศาสนาเป็นสำคัญ การติดต่อกับประเทศตะวันตกทำให้อยุธยาได้เรียนรู้วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้นว่าการสงคราม (แม้แต่พม่ายังเรียนรู้วิชาการและเอาอย่างอยุธยาในการเปิดประเทศคบหาชาวตะวันตก) ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ การประปา และการจัดสวน เป็นต้น ชาวตะวันตกบางกลุ่มได้เข้ามารับราชการรับใช้ราชสำนัก หรือที่เรารู้จักกันในตำแหน่ง "ผู้ชำนัญการ" พระมหากษัตริย์ทรงอนุญาตและมอบที่ดินให้ชาวด่างชาติตั้งหมู่บ้าน ตั้งสถานีการค้า และสร้างศสนสถานเพื่อประกอบพิธีกรรมได้อย่างอิสระ หมู่บ้านของชาวต่างชาติส่วนมากตั้งอยู่นอกเมือง จะมีเฉพาะชาวจีน ชาวฮินดู และแขกเพียงบางกลุ่มซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชสำนักแต่เดิมเท่านั้นที่อนุญาตให้สร้างบ้านเรือนอยู่ภายในเมือง สำหรับความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยกล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้ ระหว่างอยุธยากับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ พม่า มอญ เขมร ลาว ญวน และมลายู เพราะส่วนมากเกี่ยวข้องกันทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการค้า ในฐานะบ้านพี่เมืองน้องเครือญาติ หรือในฐานะเมืองประเทศราช ซึ่งบางครั้งก็ต้องทำสงครามเพื่อชิงความเป็นใหญ่เหนือแผ่นดินกันและกัน ประเทศคู่สงครามสำคัญของอยุธยาคือ พม่า ซึ่งปรากฏหลักฐานว่ามีการรบกันถึง 24 ครั้ง ใน 200 ปี โดยมีมอญและเชียงใหม่เป็นตัวแปรในฐานะรัฐกันชน

เพลิง ภูผา

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว