ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์

ผู้เขียน: ศานติ ภักดีคำ

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

148.50 บาท

165.00 บาท ประหยัด 16.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 คะแนน

จากกรุงศรีอยุธยาสู่กรุงอมรปุระและบั้นปลายพระชนมชีพในกรุงอมรปุระจากหลักฐานพม่า < แสดงน้อยลง จากกรุงศรีอยุธยาสู่กรุงอมรปุระและบั้นปลายพระชนมชีพในกรุงอมรปุระจากหลักฐานพม่า
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

148.50 บาท

165.00 บาท
165.00 บาท
ประหยัด 16.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
152 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21.2 x 0.9 CM
น้ำหนัก
0.194 KG
บาร์โค้ด
9789740216124

รายละเอียด : ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์

ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ หรือพระนามซึ่งเป็นที่รับรู้กันทั่วไปว่า "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร" "ขุนหลวงดอกมะเดื่อ" "ขุนหลวงหาวัด"และ "ขุนหลวงปนะดู่ทรงธรรม" เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ ก่อนสุดท้ายของกรุงศรีอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐ ครั้งเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาแล้วสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรทรงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงของกรุงศรีอยุธยาที่ต้องเสด็จฯ ไปประทับ ณ ประเทศพม่ากว่า ๓๐ ปีทั้งใน

เมืองรัตนปุระอังวะและเมืองอมรปุระในสมณเพศจนกระทั่งสวรรคตและถวายพระเพลิงพระบรมศพที่นั่นพระราชประวัติของสมเด็จพระเจ้อุทุมพรจึงมีความน่าสนใจและควรศึกษาเป็นอย่างยิ่ง

 


สารบัญ : ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์

    • สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
    • การเมืองเรื่องสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
    • ศึกอลองพญา ลาพระผนวชสู้ศึก
    • จากอยุธยาสู่อังวะ และอมรปุระ
    • บั้นปลายพระชนมชีพในอมรปุระ

เนื้อหาปกหลัง : ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์

"...ข้อเด่นประการสำคัญอีกประการหนึ่งของหนังสือ

ขุนหลวงหาวัด กษัตริย์ผู้เสียสละราชย์ ที่จำเป็นต้องกล่าวถึง คือ

การนำแสดง หรือให้อรรถาธิบายถึงเหตุการณ์ สภาวะแวดล้อม

และข้อสันนิษฐานที่หนักแน่นทางประวัติศาสตร์ ทั้งนี้ต้องเข้าใจ

ว่าเรื่องราวของพระเจ้าอุทุมพรนั้นมีปรากฏอยู่อย่างกระเส็นกระสาย

ในหน้าประวัติศาสตร์ขณะที่ช่วงระยะเวลาการครองราชย์ก็สั้น

มาก การจะฟื้นพระราชประวัติจึงจำเป็นต้องกระทำควบคู่ไปกับการให้

ภาพ 'บริบททางประวัติศาสตร์' ที่แวดล้อมพระเจ้าอุทุมพร ซึ่งอาจารย์

ศานติทำได้โดยปราศจากข้อติ ประเด็นที่ควรยกมาเป็นตัวอย่างคือ

การนำเสนอเรื่องเส้นทางเดินทัพ..."

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว