วิธีสบัญญัติกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง

ผู้เขียน: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

สำนักพิมพ์: สนพ.บัณฑิตอักษร

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 (0) เขียนรีวิว

477.00 บาท

530.00 บาท ประหยัด 53.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 19 คะแนน

หนังสือเล่มนี้ผู้เขียนได้จัดทำแผนภูมิ สรุปย่อหลักกฎหมายและคำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญ และการจับประเด็นข้อสอบ เพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ประกอบการศึกษาและปฏิบัติงาน พร้อมเพิ่มคำพิพากษาศาลฎีกาที่ทันสมัยล่าสุดจนถึงปัจจุบัน < แสดงน้อยลง หนังสือเล่มนี้ผู้เขียนได้จัดทำแผนภูมิ สรุปย่อหลักกฎหมายและคำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญ และการจับประเด็นข้อสอบ เพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ประกอบการศึกษาและปฏิบัติงาน พร้อมเพิ่มคำพิพากษาศาลฎีกาที่ทันสมัยล่าสุดจนถึงปัจจุบัน
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

477.00 บาท

530.00 บาท
530.00 บาท
ประหยัด 53.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 19 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
548 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
18.5 x 25.9 x 2.5 CM
น้ำหนัก
0.955 KG
บาร์โค้ด
9786167242637

รายละเอียด : วิธีสบัญญัติกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง

วิธีสบัญญัติกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง

A MISCELLANY OF CIVIL PROCEDURE LAW SERIES-2

(เคล็ดลับความสำเร็จฉบับขั้นเทพ)

  • หลัก-ฎีกา-อ้างอิง ข้อเท็จจริงตามแนวคำพิพากษา
  • โครงสร้างมาตราฐานเพื่อท่องจำตัวบท
  • ข้อสังเกตสำคัญของมาตราเพื่อจำ
  • วิเคราะห์จับประเด็นในการตอบข้อสอบ
  • ตัวอย่างคำถาม-คำตอบ (เนติ-ผู้ช่วยฯ)

สารบัญ : วิธีสบัญญัติกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง

    • บทที่ 1     เขตอำนาจศาล
    • บทที่ 2     การดำเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลอื่น (ม.10)
    • บทที่ 3     การตรวจคำคู่ความ (ม.18)
    • บทที่ 4     การขยายหรือย่นระยะเวลา (ม.23)
    • บทที่ 5     การชี้ขาดเบื้อนต้นในปัญหาข้อกฎหมาย (ม.24)
    • บทที่ 6     การเพิกถอนกระบวนพิจารณาผิดระเบียบ (ม.27)
    • บทที่ 7     การขอเลื่อนคดี (ม.40-41)
    • บทที่ 8     คู่ความมรณะ (ม.42-44)
    • บทที่ 9     ร้องสอด (ม.57,58)
    • บทที่ 10   คู่ความร่วม (ม.59)
    • บทที่ 11   มอบอำนาจให้ดำเนินคดี (ม.60)
    • บทที่ 12   มอบฉันทะ (ม.64)
    • บทที่ 13   การยื่นและส่งคำคู่ความ (ม.69, 74-76, 78-79)
    • บทที่ 14   คำพิพากษา, ประนีประนอมยอมความ (ม.131, 138)
    • บทที่ 15   คำพิพากษาไม่เกินคำขอ (ม.142)
    • บทที่ 16   การแก้ไขคำพิพากษา (ม.143)
    • บทที่ 17   การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ (ม.144)
    • บทที่ 18   คำพิพากษาผูกพันคู่ความ (ม.145)
    • บทที่ 19   คำพิพากษาถึงที่สุด (ม.147, 148)
    • บทที่ 20   การยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล (ม.155-160)
    • บทที่ 21   ฟ้องซ้อน (ม.173, ว.2(1))
    • บทที่ 22   ทิ้งฟ้อง (ม.174)
    • บทที่ 23   ถอนฟ้อง (ม.175)
    • บทที่ 24   ฟ้องแย้ง (ม.177 ว.3, 179 ว.ท้าย)
    • บทที่ 25   การแก้ไขคำฟ้อง คำให้การ (ม.179-180)
    • บทที่ 26   จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ (ม.197-199 ตรี)
    • บทที่ 27   การพิจรณาคดีใหม่
    • บทที่ 28   การขาดนัดพิจารณา (ม.200-204)
    • บทที่ 29   การขอพิจารณาคดีใหม่ระหว่างพิจารณาคดีฝ่ายเดียว (ม.206 ว.3)
    • บทที่ 30   อุทธรณ์, อุทธรณ์ข้อกฎหมายต่อศาลฎีกา (ม.223, 223 ทวิ)
    • บทที่ 31   อุทธรณ์ข้อเท็จจริง, อุทธรณ์ชัดแจ้ง (ม.224,225)
    • บทที่ 32   คำสั่งระหว่างพิจารณา (ม.226-228)
    • บทที่ 33   อุทธรณ์ (ม.229)
    • บทที่ 34   การทุเลาการบังคับคดี (ม.231)
    • บทที่ 35   การอทธรณ์คำสั่งำม่รับอุทธรณ์ (ม.234, 236)
    • บทที่ 36   ฎีกา (ม.247-252) และข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ. 2558
    • บทที่ 37   วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา (ม.253, 253ทวิ)
    • บทที่ 38   โจทย์ขอคุ้มครองชั่วคราว (ม.254-263)
    • บทที่ 39   ผลของวิธีการชั่วคราว  (ม.260)
    • บทที่ 40   คำขอในเหตุฉุกเฉิน  (ม.266-270)
    • บทที่ 41   คู่ความขอคุ้มครองประโยชน์ระหว่างพิจารณา  (ม.264)
    • บทที่ 42   การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง  (ม.271)
    • บทที่ 43   การขอกันส่วน  (ม.287)
    • บทที่ 44   การร้องขัดทรัพย์  (ม.288)
    • บทที่ 45   การขอรับชำระหนี้จำนอง  (ม.289)
    • บทที่ 46   การขอเฉลี่ยทรัพย์  (ม.290)
    • บทที่ 47   การบังคับคดี  (ม.292-306)
    • ภาคผนวก

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว