ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพ

ผู้เขียน: อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

328.50 บาท

365.00 บาท ประหยัด 36.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 13 คะแนน

ภาพสะท้อน จีนโพ้นทะล ผ่านสถาปัตยกรรมศาลเจ้า สมัยรัชกาลที่ ๑-๕ < แสดงน้อยลง ภาพสะท้อน จีนโพ้นทะล ผ่านสถาปัตยกรรมศาลเจ้า สมัยรัชกาลที่ ๑-๕
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

328.50 บาท

365.00 บาท
365.00 บาท
ประหยัด 36.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 13 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
264 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
16.2 x 23.9 x 1.4 CM
น้ำหนัก
0.423 KG
บาร์โค้ด
9789740216230

รายละเอียด : ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพ

ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพ

คำว่า "ชาวจีนโพ้นทะเล" สื่อถึงชาวจีนที่อพยพออกจากบ้านเกิดของตนเอง เพื่อไปตั้งหลักปักฐานในดินแดนอื่น โดยมีสาเหตุการอพยพหลายประการ เช่น ภาวะความแห้งแล้งและสงครามในบ้านเกิด ในปัจจุบันนี้กล่าวไว้ว่า ชาวจีนโพ้นทะเลรวมถึงลูกหลานของชาวจีนกลุ่มนี้ตั้งถิ่นฐานอยู่เกือบทุกกมุมโลก อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ชาวจีนเหล่านี้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ในดินแดนใหม่ แต่มิได้ลืมรากเหง้าทางวัฒนธรรมของตนเอง โดยสะท้อนผ่านภาษาพูด อาหาร และประเพณี เป็นต้นส ทั้งนี้ศาลเจ้าที่ชาวจีนเหล่านี้สร้างขึ้นก็เป็นสิ่งสะท้อนตัวตนด้วยเช่นกัน

ชาวจีนในดินแดนไทย รวมไปถึงกรุงเทพฯ มีทั้งหมด 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ แต้จิ๋ว ฮกเกี้ยน ไหหลำ กวางตุ้ง และแคะ ในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงความแตกต่างของชาวจีนทั้ง 5 กลุ่ม คนส่วนใหญ่ม้ักมุ่งไปที่ภาษา อาหาร ศิลปะการแสดง และประเพณีบางประการ แต่ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมของศาลเจ้า ซึ่งชาวจีนแต่ละกลุ่มสร้างขึ้นและยังคงลักษณะสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของแต่ละกลุ่มไว้ระดับหนึ่ง โดยเฉพาะศาลเจ้ารุ่นเก่า


สารบัญ : ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพ

    • บทนำ
    • ชาวจีนและศาลเจ้าจีนในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ ๑-๕
      • ภูมิหลังของกลุ่มชาวจีนในกรุงเทพฯ
      • ความเป็นอยู่ของชาวจีนในกรุงเทพฯ : การตั้งชุมชนและรวมกลุ่ม
      • ความสัมพันธ์ระหว่างศาลเจ้าและชุมชนชาวจีน
    • สถาปัตยกรรมในศาลเจ้าจีนในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ ๑-๕
      • เอกลักษณ์ร่วมกัน
      • ศาลเจ้าของชาวแต้จิ๋ว
      • ศาลเจ้าของชาวฮกเกี้ยน
      • ศาลเจ้าของชาวกวางตุ้ง
      • ศาลเจ้าของชาวไหหลำ
      • ศาลเจ้าของชาวแคะ
    • ภาพสะท้อนชาวจีนอพยพผ่านสถาปัตยกรรมศาลเจ้าในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ ๑-๕
      •  การสืบทอดรูปแบบสถาปัตยกรรมจากถิ่นกำเนิดของชาวจีนแต่ละกาลุ่มภาษา
      • การเปิดรับวัฒนธรรมจากกลุ่มภายนอกของชาวจีนแต่ละกลุ่มภาษา

เนื้อหาปกหลัง : ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพ

ชาวจีนโพ้นทะเลในเมืองไทย รวมถึงกรุงเทพฯ มีทั้งหมด 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ แต้จิ๋ว ฮกเกี้ยน ไหหลำ กวางตุ้ง และแคะ เมื่อกล่าวถึงความแตกต่างของชาวจีนทั้ง 5 กลุ่ม มักมุ่งไปที่ภาษาา อาหาร ศิลปะการแสดง และประเพณีบางประการ แต่ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมของศาลเจ้า "ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงศึกษาวิจัยรูปแบบสถาปัตยกรรมของศาลเจ้าจีน และเน้นเฉพาะศาลเจ้าในพื้นที่กรุงเทพฯ ที่สร้างขึ้นในช่วงรัชกาลที่ 1-5 เพื่อค้นหาเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของชาวจีนแต่ละกลุ่มภาษา อีกทั้งยังพิจารณาถึงอิทธิพลศิลปะอื่นๆ ที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมศาลเจ้าแต่ละกลุ่ม พบว่าศาลเจ้าหลายแห่งยังสะท้อนรูปแบบศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มภาษา บางแห่งสะท้อนถึงการผสมผสานระหว่างงานศิลปกรรมของตนเองกับศิลปกรรมแบบอื่นๆ อย่างไรก็ดี ถึงแม้ศาลเจ้าบางแห่งเป็นศาลเจ้าเก่าแก่ แต่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในภายหลังทำให้รูปแบบศิลปกรรมดั้งเดิม ที่แสดงความเป็นตัวตนของกลุ่มภาษาหายไปอย่างน่าเสียดาย"

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว