ครูบาคติใหม่ แต่งองค์ทรงเครื่อง พุทธศรัทธาหลังกึ่งพุทธกาล

ผู้เขียน: ณัฐพงศ์ ดวงแก้ว

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา , ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา

0 (0) เขียนรีวิว

207.00 บาท

230.00 บาท ประหยัด 23.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

ลอบดูหลังสบงจีวร เปิดศรัทธาที่ซ่อนอยู่ก้นบาตรสงฆ์ < แสดงน้อยลง ลอบดูหลังสบงจีวร เปิดศรัทธาที่ซ่อนอยู่ก้นบาตรสงฆ์
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

207.00 บาท

230.00 บาท
230.00 บาท
ประหยัด 23.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
246 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.1 x 21.3 x 1.3 CM
น้ำหนัก
0.272 KG
บาร์โค้ด
9789740216445

รายละเอียด : ครูบาคติใหม่ แต่งองค์ทรงเครื่อง พุทธศรัทธาหลังกึ่งพุทธกาล

ครูบาคติใหม่ แต่งองค์ทรงเครื่อง พุทธศรัทธาหลังกึ่งพุทธกาล

ในโลกปัจจุบัน ศรัทธาและความเชื่อดูจะเป็นคุณค่าที่เสื่อมถอยลงเรื่อยๆ พุทธศาสนาจําต้องปรับตัวให้เข้ากับบริบทโลก การพาผู้คนบรรลุนิพพานไม่ใช่เป้าหมายหลักของพุทธศาสนาอีกต่อไป แต่เป็นการสร้างความหวัง คุณค่า รวมถึงตัวตนและความหมาย ให้กับผู้คนที่กําลังสิ้นหวัง ผ่านพิธีกรรมทางศาสนา "ครูบาคติใหม่” คือกลุ่มพระสงฆ์ทางภาคเหนือที่สืบทอดลักษณะและวัตรปฏิบัติจากครูบาศรีวิชัย โดยเป็นผู้ฉุดดึงผู้คนจากความท้อแท้ให้กลับมามีชีวิตใหม่อีกครั้ง ด้วยกระบวนวิธีเปลี่ยนคําสอนให้กลายเป็นสินค้า เปลี่ยนศรัทธาให้กลายเป็นการลงทุน ผู้เขียนได้ลงพื้นที่สํารวจ สัมภาษณ์ชาวบ้านผู้ศรัทธาพระครูบาคติใหม่ รวมถึงบวชเป็นพระ เพื่ออธิบายการกําเนิดขึ้นของกลุ่ม “ครูบาคติใหม่” ความเป็นมาของศรัทธาความเชื่อของผู้คน และการปรับตัวของพระสงฆ์ในโลกสมัยใหม่ เพื่อให้เราได้เข้าใจการดํารงอยู่ของศาสนาในโลกยุคสมัยใหม่ได้อย่างลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น

ณัฐพงศ์ ดวงแก้ว


สารบัญ : ครูบาคติใหม่ แต่งองค์ทรงเครื่อง พุทธศรัทธาหลังกึ่งพุทธกาล

    • ๑ พัฒนาการ ความหมาย และการรับรู้ของคนในปัจจุบัน ต่อคำว่า "ครูบา"
    • ๒ ครูบาศรีวิชัย : การผลิตซ้ำ การสร้างภาพลักษณ์ ทศวรรษ ๒๔๗๐-๒๕๕๐
    • ๓ ผู้ศรัทธา : ปฏิสัมพันธ์และกำเนิดแห่งความศรัทธา
    • ๔ ครูบาคติใหม่ : การปรับตัว จุดขาย และการนำเสนอภาพลักษณ์ต่อสังคม
    • ๕ ครูบาคติใหม่ : การผลิตซ้ำและการทำภาพลักษณ์ให้กลายเป็นสินค้า

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว