ถอกรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย

ผู้เขียน: สัญญา เคณาภูมิ

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: จิตวิทยา การพัฒนาตัวเอง , การพัฒนาตัวเอง how to

0 (0) เขียนรีวิว

189.00 บาท

210.00 บาท ประหยัด 21.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 คะแนน

เสนอแนวทางการนำเอาความรู้จากแหล่งต่างๆ มาพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย < แสดงน้อยลง เสนอแนวทางการนำเอาความรู้จากแหล่งต่างๆ มาพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com เปิดคลังลด หนังสือลดเลย 10%

189.00 บาท

210.00 บาท
210.00 บาท
ประหยัด 21.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
216 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
19 x 26 x 1 CM
น้ำหนัก
0.422 KG
บาร์โค้ด
9789740338642

รายละเอียด : ถอกรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย

ถอกรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย

ผู้เขียนเห็นว่ากรอบแนวคิดการวิจัยเป็นเรื่องสำคัญมาก เนื่องจากถือว่าเป็นปัจจัยนำเข้า (Input) ก่อนที่ถูกนำผ่านกระบวนการคิด (Process) ซึ่งผลลัพธ์ (Output) ออกมาเป็นผลการวิจัยซึ่งเป็นองค์ความรู้ใหม่ (New knowledge) หากต้องการได้องค์ความรู้ที่ดี มีความก้าวหน้าและมีความทันสมัย การจัดปัจจัยนำเข้าที่ดีจึงเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง กรอบแนวคิดการวิจัยที่ดีจึงเป็นปัจจัยนำเข้าที่ดี ผู้เขียนได้นำเสนอวิธีการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้กรอบแนวคิดที่ทันสมัยครอบคลุมประเด็นที่จะศึกษาอย่างทั่วถึง นอกจากนั้นบทสุดท้ายยังได้นำเสนอ วิธีการสร้างกลยุทธ์ หรือยุทธวิถีการพัฒนาที่ได้จากฐานการวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

รองศาสตราจารย์ ดร.สัญญา เคณาภูมิ


สารบัญ : ถอกรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย

    • บทที่ 1 ปรัชญาการวิจัย: ปริมาณ: คุณภาพ
    • บทที่ 2 ขอบข่ายของการวิจัยทางการบริหาร
    • บทที่ 3 รูปแบบการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
    • บทที่ 4 การทบทวนวรรณกรรม
    • บทที่ 5 การใช้ทฤษฎีจากฐานราก
    • บทที่ 6 การกระบวนการคิดเชิงเหตุผล

เนื้อหาปกหลัง : ถอกรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย

หนังสือเล่มนี้ได้นำเสนอแนวทางการนำเอาความรู้จากแหล่งต่างๆ มาพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย เป็นต้นว่า องค์ความรู้ในตัวคน (Tacit knowledge) ตลอดจนองค์ความรู้ตาม หลักการใบไม้ในป่าหิมพานต์มาเป็นฐานคติในการพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัยให้ทันสมัยอันนำไปสู่การต่อยอดองค์ความรู้เดิมอย่างเหมาะสมจะได้เข้าถึงเป้าหมายของการวิจัยที่แท้จริงซึ่งต้อง "ไปยืนอยู่ชายขอบแห่งความรู้"

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว