ศิลปะกรุงธนบุรี

ผู้เขียน: ประภัสสร์ ชูวิเชียร

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

224.10 บาท

249.00 บาท ประหยัด 24.90 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:E-Book ทั้งเว็บลดทุกเล่ม 10% วันที่ 16 ธ.ค. 67 - 31 ม.ค. 68

Tags: ศิลปะ , สถาปัตยกรรม , กรุงธนบุรี , พระเจ้าตาก , ศิลปกรรม , ประวัติศาสตร์ศิลปะ , ประวัติศาสตร์ไทย , ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย

224.10 บาท

249.00 บาท
249.00 บาท
ประหยัด 24.90 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • E-Book ADDICT อ่านฟิน ทั้งวัน ทั้งคืน ลดทั้งเว็บ ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15% วันที่ 16 ธ.ค. 67 - 31 ม.ค. 68
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
210 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาดไฟล์
15.20 MB
ประเภทไฟล์
PDF
บาร์โค้ด
9000062410

รายละเอียด : ศิลปะกรุงธนบุรี

E-book ศิลปะกรุงธนบุรี

กรุงธนบุรีสถาปนาขึ้นภายใต้ภาวะสงคราม สมเด็จพระเจ้าตากสินรวบรวมผู้คนสร้างเมืองขึ้นใหม่ในพื้นที่เมืองธนบุรี-บางกอกเดิม หลักฐานมากมายระบุว่าพื้นที่ดังกล่าวมีผู้คนอยู่อย่างหนาแน่นมาก่อน ดังนั้นในช่วง 15 ปีของสมัยธนบุรี การซ่อม ปรับปรุงวัดจึงน่าจะเป็นงานช่างสมัยธนบุรี ผู้เขียนจึงสำรวจศิลปกรรมตามวัดต่างๆ ในพื้นที่เพื่อสืบหาร่องรอยรูปแบบศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สืบสานความงามศิลปะอยุธยาและส่งต่อให้แก่ศิลปะรัตนโกสินทร์

ศิลปะกรุงธนบุรี คือ รูปแบบศิลปะในช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์ที่เรียกว่า "กรุงธนบุรี" ซึ่งถูกมองข้ามแค่เพราะราชธานีแห่งนี้มีอายุขัยเพียง ๑๕ ปี ท่ามกลางภาวะยุ่งยากหลังกรุงศรีอยุธยาล่มสลาย แต่ทว่า การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะไม่ควรที่จะมองข้ามรูปแบบศิลปะในสมัยใดสมัยหนึ่งไป เพราะจะทำให้มองไม่เห็นพัฒนาการของรูปแบบศิลปะนั้นๆ นี่จึงเป็นที่มาของหนังสือ "ศิลปะกรุงธนบุรี"

รศ.ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร ได้พยายามศึกษาศิลปะกรุงธนบุรี โดยการสังเกต ตรวจสอบ และดูร่องรอยความเหมือน/ความต่างของศิลปกรรมที่อยู่ในพื้นที่เมืองกรุงธนบุรีเพื่อนิยามเอกลักษณ์เฉพาะของรูปแบบศิลปะกรุงธนบุรี อันเป็นสะพานเชื่อมศาสตร์ และศิลป์จากสมัยอยุธยาลงมาสู่รัตนโกสินทร์

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว