พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน

ผู้เขียน: ศักดิ์ชัย สายสิงห์

สำนักพิมพ์: เมืองโบราณ

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

5 (1) เขียนรีวิว

540.00 บาท

600.00 บาท ประหยัด 60.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 21 คะแนน

รูปแบบของศิลปกรรมที่เปลี่ยนไปนั้นได้แสดงถึงแนวคิดและคติการสร้างที่ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม < แสดงน้อยลง รูปแบบของศิลปกรรมที่เปลี่ยนไปนั้นได้แสดงถึงแนวคิดและคติการสร้างที่ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com เปิดคลังลด หนังสือลดเลย 10%

540.00 บาท

600.00 บาท
600.00 บาท
ประหยัด 60.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 21 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
568 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
16.5 x 24.2 x 2.8 CM
น้ำหนัก
0.952 KG
บาร์โค้ด
9786164650312

รายละเอียด : พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน

พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน

งานศิลปกรรมถือเป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคม โดยเฉพาะงานศิลปกรรมอันเนื่องในพุทธศาสนา พุทธศิลป์ในสมัยรัตนโกสินทร์ มีวัตถุประสงค์ที่จะอธิบายถึงความเป็นมาของงานศิลปกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตั้งแต่เมื่อแรกสถาปนามาจนถึงปัจจุบัน เพื่อลำดับพัฒนาการของงานช่างในแต่ละยุคสมัย อันแสดงให้เห็นถึงรูปแบบศิลปะที่ปรับเปลี่ยนตามแนวความคิดและแรงบันดาลใจ เช่น ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีงานศิลปกรรมที่สืบทอดมาจากงานแบบแผนประเพณีในสมัยอยุธยาตอนปลาย ที่เรียกว่า "แบบไทยประเพณี" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ เมื่อมีแรงบันดาลใจมาจากศิลปะจีน จึงเกิดงานศิลปกรรมที่เรียกว่า "แบบหพระราชนิยม" ขึ้น ครั้นมาถึงรัชกาลที่ ๔ เมื่อกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเริ่มมีบทบาทมากขึ้นทำให้โลกทัศน์ทางสังคมเปลี่ยนแปลง งานศิลปกรรมจึงมีการปรับเปลี่ยนครั้งสำคัญที่เข้าสู่ยุคที่เรียกว่า "สัจนิยม" และตั้งแต่รัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมางานศิลปกรรมจึงพัฒนามาสู่ศิลปะในยุคปัจจุบัน ที่เป็น "ศิลปะร่วมสมัยและศิลปะสมัยใหม่"


สารบัญ : พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน

    • ภาคที่ ๑ : สถาปัตยกรรม
    • ภาคที่ ๒ : ประติมากรรม (พระพุทธรูป)
    • ภาคที่ ๓ : จิตรกรรม

รีวิว


5.0
5 (1)
  • 5
    100 %
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว