ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม

ผู้เขียน: อานันท์ กาญจนพันธุ์

สำนักพิมพ์: สยามปริทัศน์/SIAMPARITUT

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , หนังสือสารคดี

0 (0) เขียนรีวิว

261.00 บาท

290.00 บาท ประหยัด 29.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

การทะลุกรอบและกับดักของความคิดแบบคู่ตรงกันข้าม < แสดงน้อยลง การทะลุกรอบและกับดักของความคิดแบบคู่ตรงกันข้าม
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

261.00 บาท

290.00 บาท
290.00 บาท
ประหยัด 29.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
274 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 20.9 x 1.5 CM
น้ำหนัก
0.335 KG
บาร์โค้ด
9786164860247

รายละเอียด : ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม

ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม

"เมื่อปัญหาในการวิจัยทางวัฒนธรรมมีความซับซ้อนมากขึ้นความต้องการเปลี่ยนแปลงทั้งทางทฤษฎีและวิธีวิทยาในการวิจัยจึงจำเป็น โดยสามารถเริ่มต้นด้วยการทบทวนและวิพากษ์วิจารณ์ทฤษฎีอย่างมีสติให้มากขึ้น แต่ไม่ใช่เพื่อการแสวงหาคำตอบหรือหากรอบคอบคิดเช่นที่เคยทำกันมา ทว่าต้องมองทฤษฎีให้ทะลุออกไปให้หลายๆ มิติทั้งในแง่ที่เป็นวิธีคิด (mode of thinking) เครื่องมือทางความคิดหรือเครื่องช่วยคิด (heuristic tools) และในแง่ของการตั้งประเด็นคำถามี่แตกต่างจากเดิม เพื่อให้เกิดมุมมองใหม่ที่ท้าทายอย่างหลากหลาย"

"การวิจัยทางสังคมศาสตร์มักเกี่ยวข้องกับผู้คนหลายฝ่ายนักวิจัยจึงควรให้ความสำคัญแก่กระบวนการมีส่วนร่วมในการวิจัยมากขึ้นด้วย ในทุกๆ ขั้นตอนของการวิจัย ทั้งในขั้นตอนของการคิดโจทย์วิจัยกระบวนการวิจัย และขั้นตอนการวิเคราะห์ ซึ่งจะช่วยให้การวิจัยกลายเป็นพลังที่สร้างสรรค์องค์ความรู้และสติปัญญาในสังคม"


สารบัญ : ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม

    • บทที่ 1 บทนำ
    • บทที่ 2 ทฤษฎีและการวิจัยวัฒนธรรมในยุคหลังสมัยใหม่
    • บทที่ 3 การทะลุรอบคิดของทฤษฎีและวิธีวิทยาของการทะลุกรอบคิด
    • บทที่ 4 วิธีวิทยาของวิธีคิดในการตั้งโจทย์วิจัย
    • บทที่ 5 วิธีคิดของคนไทย
    • บทที่ 6 การสร้างความคิดนามธรรมในวัฒนธรรมไทย
    • บทที่ 7 มองข้ามวัฒนธรรมในงานวิจัยภาคสนาม
    • บทที่ 8 วิธีวิทยาในการศึกษาคนชายขอบ
    • บทที่ 9 ปัญหาและทิศทางในการวิจัยชาวเขา
    • บทที่ 10 บทสรุป: พื้นที่และตัวตนของการวิจัย

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว