นครวัดทัศนะสยาม (รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ)

ผู้เขียน: ศานติ ภักดีคำ

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

297.00 บาท

330.00 บาท ประหยัด 33.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 11 คะแนน

เรื่องราวของนครวัด-นครธมตามการรับรู้ของไทยในแต่ละห้วงเวลา < แสดงน้อยลง เรื่องราวของนครวัด-นครธมตามการรับรู้ของไทยในแต่ละห้วงเวลา
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 1 หนังสือลดเลย 10%

Tags: นครวัด , สยาม , นครธม , โบราณคดี , พงศาวดาร

297.00 บาท

330.00 บาท
330.00 บาท
ประหยัด 33.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 11 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
272 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 20.9 x 1.5 CM
น้ำหนัก
0.296 KG
บาร์โค้ด
9789740217121

รายละเอียด : นครวัดทัศนะสยาม (รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ)

นครวัดทัศนะสยาม (รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ)

ใครว่า "นครวัด" เพิ่งถูกค้นพบโดยอองรี มูโอต์! เพราะที่จริงแล้วนครวัดไม่เคยหายไปจากความทรงจำของชาวกัมพูชา แม้ว่าเมืองจะถูกทิ้งร้างไป แต่เรื่องราวเกี่ยวกับนครวัดยังคงวนเวียนผ่านเรื่องเล่า ตำนาน และพงศาวดาร และแน่นอนว่า นครวัดก็มิได้หายไปจากความทรงจำของชาวสยามเช่นกัน

หนังสือเล่มนี้จะพาเราย้อนกลับไปตามหาร่องรอยความทรงจำของชาวสยามที่มีต่อนครวัด นับตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัย จวบจนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ ผ่านเอกสารโบราณหลักฐานทางโบราณคดี เพื่อหาคำตอบของคำถามว่า "หากนครวัดไม่ได้เพิ่งถูกค้นพบ แล้วชาวสยามรู้จักนครวัดได้อย่างไร"


สารบัญ : นครวัดทัศนะสยาม (รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ)

    • "นครวัด-นครธม" ในการรับรู้ของไทยก่อนสุโขทัย
    • "ศรีโสธรปุระ" เมืองพระนครในการรับรู้ของสุโขทัย
    • การเมืองและศาสนากับเมือง "พระนครหลวง" ในสมัยอยุธยาตอนต้น
    • เมืองพระนคร ศูนย์กลางการจาริกแสวงบุญในกัมพูชาสมัยอยุธยาตอนกลาง
    • สัญลักษณ์ทางการเมือง "นครหลวง" และความทรงจำสมัยอยุธยาตอนปลาย
    • "นครวัด-นครธม" และ "เสียมราบ" กับความรับรู้สมัยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ตอนต้น
    • "นครวัด-นครธม" กับการเมืองสมัยรัชกาลที่ ๔
    • นครวัดในการรับรู้ของคนไทยสมัยรัชกาลที่ ๕
    • เมื่อ "นครวัด-นครธม" กลายเป็นเรื่อง "โบราณคดี"

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว