เปรียบเทียบการปฏิรูปศาสนาคริสต์ - พุทธ และสังคมโลกวิสัย

ผู้เขียน: สุรพศ ทวีศักดิ์

สำนักพิมพ์: สยามปริทัศน์/SIAMPARITUT

หมวดหมู่: วรรณกรรม , หนังสือคนดัง ประสบการณ์ชีวิต

4 (1) เขียนรีวิว

252.00 บาท

280.00 บาท ประหยัด 28.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

ร่วมกันหาแนวทางปฏิรูปพุทธศาสนา ที่สามารถจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาให้สังคมไทยมีเสรีภาพทางศาสนาและเสรีภาพทางการเมืองได้จริง < แสดงน้อยลง ร่วมกันหาแนวทางปฏิรูปพุทธศาสนา ที่สามารถจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาให้สังคมไทยมีเสรีภาพทางศาสนาและเสรีภาพทางการเมืองได้จริง
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com New Year, New Me! หนังสือลด 10%

Tags: ปรัชญา-ศาสนาพุทธ-ศาสนาคริสต์-พุทธศาสนากับการเมือง-พุทธศาสนากับสังคม

252.00 บาท

280.00 บาท
280.00 บาท
ประหยัด 28.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
312 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21 x 1.7 CM
น้ำหนัก
0.37 KG
บาร์โค้ด
9786164860506

รายละเอียด : เปรียบเทียบการปฏิรูปศาสนาคริสต์ - พุทธ และสังคมโลกวิสัย

เปรียบเทียบการปฏิรูปศาสนาคริสต์ - พุทธ และสังคมโลกวิสัย

การที่มหาเถรสมาคมซึ่งเป็นศาสนจักรของรัฐมีมติ
ให้พระสงฆ์ทุกวัดทั่วประเทศเทศนาสอนประชาชน
ให้รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ขณะที่มีมติและ
คำสั่งห้ามภิกษุสามเณรจัดอภิปราย เสวนา แสดง
ความเห็นหรือร่วมชุมนุมสนับสนุนการต่อสู้เพื่อเสรีภาพ
และประชาธิปไตยของประชาชน นี่เป็นข้อเท็จจริงที่
แสดงว่าพระเณรไม่มีเสรีภาพทางศาสนาใช่หรือไม่
เพราะ “เสรีภาพ” (freedom) หมายถึง “เลือกได้”
เช่น เลือกได้ว่าจะตีความพุทธธรรมสนับสนุนความรักชาติ
ศาศน์ กษัตริย์ก็ได้ จะตีความพุทธธรรมสนับสนุนการต่อสู้
เพื่อเสรีภาพและประชาธิปไตยก็ได้เป็นต้น ดังนั้น
ถ้าพระเณรมีเสรีภาพทางศาสนาจริง ก็ต้องเลือกตีความ
พุทธธรรมสนับสนุนอุดมการณ์ชาติ ศาศน์ กษัตริย์
และอุดมการณ์ประชาธิปไตยได้อย่างเท่าเทียมกัน
ปัญหาว่าพระเณรมีเสรีภาพทางศาสนา จริงหรือไม่?
เป็นปัญหาสำคัญพอๆกับปัญหาว่านักการเมือง
มีเสรีภาพทางการเมืองหรือไม่?

ซึ่งชัดเจนว่าในบ้านเรานักการเมืองไม่ได้มีเสรีภาพอย่าง
แท้จริงเพราะไม่สามารถอภิปรายประเด็นปัญหาสถาบัน
กษัตริย์กับประชาธิปไตยในสภาได้อย่างตรงไปตรงมา
เพียงแค่นักการเมืองพูดพาดพิงสถาบันกษัตริย์เฉียดๆ
ก็ถูกประท้วง กระทั่งถูกแจ้งความเอาผิดตาม
ประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 112


สารบัญ : เปรียบเทียบการปฏิรูปศาสนาคริสต์ - พุทธ และสังคมโลกวิสัย

    • บทนำ ทำไมจึงเปรียบเทียบศาสนาคริสต์-พุทธ
    • บทที่ 1 การปฏิรูปคริสต์ศาสนาและการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมโลกวิสัย
    • บทที่ 2 ปรัชญาการเมืองแบบพุทธและรัฐพุทธศาสนา
    • บทที่ 3 การปฏิรูปพุทธศาสนาในสมัยรัชกาลที่ 4-5 กับคุณค่าของพุทธศาสนาของรัฐและสังคมไทยสมัยใหม่
    • บทที่ 4 อภิปรายปัญหาและเสนอแนวทางปฏิรูปพุทธศาสนา (ปัญหาของพุทธศาสนาสมบูรณญาสิทธิราชย์)
    • บทที่ 5 อภิปรายปัญหาและเสนอแนวทางปฏิรูปพุทธศาสนา (ต่อ) (ข้อเสนอการปฏิรูปพุทธศาสนาของฝ่ายอนุรักษนิยมและฝ่ายเสรีนิยม)
    • บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ (สร้างวัฒนธรรมเคารพเสรีภาพที่เท่าเทียมในการรณรงค์ปฏิรูปพุทธศาสนา)

รีวิว


4.0
4 (1)
  • 5
    0%
  • 4
    100 %
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว