Grammar น่าฮัก

ผู้เขียน: ชลลัดดา สุดเจริญ

สำนักพิมพ์: ธิงค์บียอนด์/Think Beyond

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

0 (0) เขียนรีวิว

145.27 บาท

199.00 บาท ประหยัด 53.73 บาท (27.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 27%
  • โปรโมชั่น:E-Book Black Friday Party Sale สำนักพิมพ์ IDC / Think Beyond / Infopress ลดทุกเล่ม 27% วันที่ 13 - 30 พ.ย. 67

145.27 บาท

199.00 บาท
199.00 บาท
ประหยัด 53.73 บาท (27.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • E-Book ADDICT อ่านฟิน ทั้งวัน ทั้งคืน ลดทั้งเว็บ ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15% วันที่ 1 - 30 พ.ย. 67
จำนวนหน้า
339 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาดไฟล์
10.65 MB
ประเภทไฟล์
PDF
บาร์โค้ด
8859099304368

รายละเอียด : Grammar น่าฮัก

Grammar น่าฮัก หนังสือไวยากรณ์ภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณ์ ที่อัดแน่นด้วยเนื้อหา เข้าใจง่ายใช้ได้ทุกสถานการณ์ ทั้งในการเรียนและชีวิตประจำวัน 100% ด้วยวิธี Contrastive Analysis ซึ่งไม่ใช่การท่องจำแบบนกแก้วนกขุนทองแต่เป็นการสร้างความรู้อย่างยั่งยืน

คู่มือภาษาอังกฤษเล่มนี้ สร้างสรรค์โดยอาจารย์จากมหาวิทยาลัย ผู้มีประสบการณ์การสอนมากว่า 30 ปี ครบถ้วนในทุกเรื่องที่ต้องรู้ พร้อมแบบฝึกหัดให้ลองทดสอบกันอย่างเต็มอิ่ม ตามวิธีการ "Contrastive Analysis" ซึ่งไม่ใช่ให้นักเรียน นักศึกษา

รวมถึงบุคคลทั่วไป รู้เพียงแค่ท่องจำ หรือแค่ให้สอบได้ แต่จะทำให้เก่ง ฉลาด สามารถสอบเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นไป อีกทั้งนำไปใช้งานได้จริงอย่าง "ยั่งยืน"  ไม่ว่าจะเป็น มาเรียนภาษาอังกฤษด้วยหลักการ Contrastive Analysis

ซึ่งไม่ใช่แค่ให้ท่องจำหรือแค่ให้สอบได้แต่ให้เก่ง ฉลาด สอบเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นไปได้อย่างยั่งยืนกันเถอะ, พื้นฐานของการเก่งไวยากรณ์อังกฤษและภาษาอังกฤษคือ หยุดปัญหาปวดหัวในเรื่องของคำนาม (Noun) ให้ได้ด้วยการใช้อย่างถูกต้องต้องเข้าใจประเภทของคำนามเสียก่อน,

แก้ปัญหาความสับสนในการเขียนหรือสะกด คำนามเฉพาะ (Proper Nouns)และคำนามทั่วไป (Common Nouns) ให้ได้ถูกต้อง, เข้าใจหน้าที่และความสำคัญของคำนาม เป็นเรื่องที่ไม่ยาก,ต้องรู้คำนำหน้า noun หรือคำขยาย noun (Determiners) อย่างถูกหลัก

เพื่อใช้งานได้ถูกต้อง,เข้าใจคำคุณศัพท์ (Adjective) ได้ง่ายๆ ไม่ใช่เรื่องยากเลย, หน้าที่และตำแหน่งในประโยคของ Adjective,ประเภทของ Adjective, คำคุณศัพท์ในโครงสร้างประโยค, ชนิดของคำกริยา, หน้าที่ของคำกริยา,คำกริยาวิเศษณ์ (Adverbs) เข้าใจไว้ไม่สับสน,

ชนิดของคำกริยาวิเศษณ์, ลำดับของคำกริยาวิเศษณ์ในประโยค,คำสรรพนาม (Pronoun) เข้าใจไว้ ใครว่ายาก, ประเภทของสรรพนาม, คำสันธาน (Conjunction)ไม่ต้องใช้เวลานานๆ ทำความเข้าใจ… อ่านตรงนี้แป๊บเดียวก็ได้แล้ว, ประเภทของคำสันธาน (แบ่งตามหน้าที่),เชื่อมทุกสิ่งด้วยบุพบท (Preposition) ได้ถูกต้อง,

ชนิดของคำบุพบท, บุพบทบอกเวลาที่นิยมใช้บ่อย,บุพบทบอกเวลาอื่นๆ, บุพบทบอกสถานที่ที่นิยมใช้บ่อย, บุพบทบอกสถานที่และทิศทางที่นิยมใช้บ่อย,วลี (Phrase) มีที่มา, Infinitive Phrase, Present Participial Phrase, Past Participial Phrase,บุพบทวลี (Prepositional Phrase), นามวลี (Noun Phrase), กริยาวลี (Verb Phrase),

คุณศัพท์วลี (Adjective Phrase), คุณศัพท์วลี เมื่ออยู่ในประโยคสามารถทำหน้าที่ในเชิงไวยากรณ์ได้,กริยาวิเศษณ์วลี (Adverbial Phrase), กริยาวิเศษณ์วลี เมื่ออยู่ในประโยคสามารถทำหน้าที่ในเชิงไวยากรณ์ได้,ทำประโยคให้สมบูรณ์ด้วยอนุประโยค (Clause), อนุประโยคที่ทำหน้าที่อย่างคำนาม (Noun Clause),

อนุประโยคที่ทำหน้าที่อย่างคำคุณศัพท์ (Adjective Clause),อนุประโยคที่ทำหน้าที่อย่างคำกริยาวิเศษณ์ (Adverb Clause), ประโยคที่น่าฮัก มาจากความเข้าใจอย่างรอบคอบจ้า, ประโยคความเดียว (Simple Sentence), ประโยคความรวม (Compound Sentence),ประโยคความซ้อน (Complex Sentence),

ประโยคความรวม-ความซ้อน (Compound-Complex Sentence),ประโยคบอกเล่า (Affirmative Sentence), ประโยคปฏิเสธ (Negative Sentence),ประโยคคำถาม (Interrogative Sentence), ประโยคคำถามเชิงปฏิเสธ (Negative Interrogative Sentence),ประโยคขอร้องหรือประโยคคำสั่ง (Imperative Sentence), ประโยคอุทาน (Exclamation Sentence),แค่รู้ "กาล" (Tense) อะไรๆ ก็ง่ายขึ้นเยอะ,

โครงสร้างของกริยาวลีตาม Tense ประเภทต่างๆ,Present Simple Tense, Present Continuous Tense, Present Perfect Tense, Present Perfect Continuous Tense,Past Simple Tense, Past Continuous Tense, Past Perfect Tense, Past Perfect Continuous Tense,Future Simple Tense, Future Continuous Tense, Future Perfect Tense, Future Perfect Continuous Tense,

อ๊ะ อ๊ะ... "วาจก" ไม่ใช่ "ยาจก" นะ รู้ไว้รวยคะแนนแน่นอน, โครงสร้างของคำกริยาหลัก,การบอกเล่าคำพูดของผู้อื่น (Reported Speech) อ๊ะ... มันเป็นยังไงกันนี่,โครงสร้างประโยคที่เป็น Indirect Speech เปลี่ยนแกรมม่าที่น่าเบื่อ น่าเซ็ง น่าปวดหัว ให้กลายเป็น "แกรมม่าน่าฮัก" ที่ใครๆก็ต้องหลงรักภาษาอังกฤษ จนต้องบอกว่า รู้อย่างนี้อ่านเล่มนี้เล่มเดียวก็พอแล้ว !

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%