ท่องล้านนาบนหลังช้าง

ผู้เขียน: โฮลต์ ฮาลเลตต์

สำนักพิมพ์: ริเวอร์ บุ๊คส์

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

565.25 บาท

595.00 บาท ประหยัด 29.75 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 22 คะแนน

กับมิสเตอร์อาร์ชิบัลด์ โคลฮูน (Mr. Archibald Colquhoun) บุกเบิก พัฒนาเส้นทางรถไฟ ขยายการค้าของอังกฤษในภูมิภาคตะวันออก < แสดงน้อยลง กับมิสเตอร์อาร์ชิบัลด์ โคลฮูน (Mr. Archibald Colquhoun) บุกเบิก พัฒนาเส้นทางรถไฟ ขยายการค้าของอังกฤษในภูมิภาคตะวันออก

Tags: ชีวประวัติ , สารคดี , ประวัติศาสตร์

565.25 บาท

595.00 บาท
595.00 บาท
ประหยัด 29.75 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 22 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
376 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21 x 2.1 CM
น้ำหนัก
0.402 KG
บาร์โค้ด
9786164510555

รายละเอียด : ท่องล้านนาบนหลังช้าง

ท่องล้านนาบนหลังช้าง

มิสเตอร์โฮลต์ ซามูเอล ฮาลเลตต์ (Holt Samuel Hallet) วิศวกรผู้ดูแลการสร้าง
เส้นทางรถไฟในบริติชราช ภายหลังเป็นผู้บุกเบิกพัฒนาเส้นทางรถไฟในพม่า ผลงานที่
สร้างชื่อเสียงให้เขา คือบันทึกการเดินทางสำรวจทางรถไฟสายเมืองจีนกับพม่า ซึ่งมอบ
ให้ราชสมาคมภูมิศาสตร์ และตีพิมพ์เป็นหนังสือชื่อ A Thousand Miles on an Elephant
in the Shan States รวมทั้งผลงานที่ร่วมกับมิสเตอร์อาร์ชิบัลด์ โคลฮูน (Mr. Archibald
Colquhoun) บุกเบิก พัฒนาเส้นทางรถไฟ ขยายการค้าของอังกฤษในภูมิภาคตะวันออก

ฮาลเลตต์เริ่มเดินทางสำรวจจากเมืองมะละแหม่ง ข้ามแม่น้ำต่องยิน (แม่น้ำเมย) สู่ไมลองยี
(เมืองยวม) ผ่านเทือกเขาถึงเมืองฮอด จากนั้นนั่งเรือทวนแม่น้ำปิงถึงเมืองเชียงใหม่
ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าอุบลวรรณา เจ้านายทั่วเมืองล้านนา และผู้เผยแผ่
ศาสนาคนสำคัญ อย่างสาธุคุณดาเนียล แมกกิลวารี ด้วย

ฮาลเลตต์บันทึกรายละเอียดการเดินทาง พร้อมเกร็ดประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจทั่วทั้ง
หัวเมืองล้านนาจนถึงกรุงเทพฯ สุดท้าย ได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวในพระบรมมหาราชวัง

แม้ข้าหลวงใหญ่และหอการค้าอังกฤษในพม่าพยายามผลักดันโครงการเส้นทาง
รถไฟอย่างเต็มที่ แต่สุดท้ายโครงการนี้ก็ไม่เกิด เพราะรัฐบาลบริติชราชไม่สนับสนุน
เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายมหาศาล ไม่คุ้มค่าการลงทุน ส่วนรัฐบาลสยามเอง คำนึงถึงเรื่อง
ความมั่นคงมากกว่าผลประโยชน์ทางการค้า จึงล้มเลิกโครงการนี้ไป

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว