ชีวิตเชลยศึก:หยดเลือดและหยาดน้ำตาในค่ายกักกันไทยหลังสงครามมหาเอเชียบูรพา

ผู้เขียน: เทพ บุญตานนท์

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

162.00 บาท

190.00 บาท ประหยัด 28.00 บาท (14.74 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Let’s Read อ่านหนังสือคุ้ม ลดเลยสูงสุด 30%*

162.00 บาท

190.00 บาท
190.00 บาท
ประหยัด 28.00 บาท (14.74 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
184 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 20.9 x 0.8 CM
น้ำหนัก
0.218 KG
บาร์โค้ด
9789740218821

รายละเอียด : ชีวิตเชลยศึก:หยดเลือดและหยาดน้ำตาในค่ายกักกันไทยหลังสงครามมหาเอเชียบูรพา

      หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ประเทศไทยมีสถานะเป็นผู้แพ้สงคราม ด้วยเหตุนี้จึงต้องชดใช้ความเสียหายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงสงคราม เช่น การเสียค่าปฏิกรรมสงคราม การคืนดินแดนบางส่วนของอินโดจีนให้แก่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลเชลยศึกซึ่งยังคงตกค้างอยู่ในปะเทศหลังสงครามสิ้นสุดด้วย

    เชลยศึกที่ยังคงตกค้างอยู่ในประเทศไทยหลักๆ ประกอบไปด้วยเชลยศึกญี่ปุ่น ดัตช์ และเกาหลี เชลยศึกเหล่านี้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยากลำบากในค่ายกักกัน ความอดอยากและสุขาภาวะที่ไม่ดีมีอยู่เสมอโดยเฉพาะในค่ายกักกันนอกกรุงเทพฯ เชลยศึกญี่ปุ่นเป็นกลุ่มที่ไทยต้องควบคุมตัวไว้อย่างดีเนื่องจากหลายคนต้องถูกส่งต้องขึ้นศาลในฐษนะอาชญากรสงคราม ส่วนเชลยศึกดัตช์นั้นนับได้ว่าพวกเขาได้รับการดูแลอย่างดีที่สุด เพราะพวกเขามีสถานะเป็นผู้ชนะสงครามจึงทำให้ได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น บุหรี่ ลูกฟุตบอล ฯลฯ และสำหรับเชลยศึกชาวเกาหลีนั้นนื่องจากเกาหลียังไม่มีเอกราชเป็จของตัวเอง จึงไม่มีรัฐบาลไหนมาช่วยประสานงาน จึงทำให้พวกเขาเป็นเชลยศึกที่อดอยากและถูกทอดทิ้งมากที่สุด

สารบัญ: คำนำผู้เขียน/ และแล้วสงครามก็สิ้นสุด?-สถานการณ์ของรัฐบาลไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง-สรุป/ เชลยศึกหรืออาชญากรสงคราม: สถานการณ์ของเชลยศึกญี่ปุ่นหลังสงครามยุติลง-ความสัมพันธ์ไทย - ญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2-รัฐบาลไทยกับการจัดการปัญหาเรื่องเชลยศึกญี่ปุ่น-เชลยศึกญี่ปุ่นกับปัญหาอาชญากรสงคราม-ความสัมพันธ์ไทย - ญี่ปุ่นหลังสงครามยุติลง-สรุป/ พันธมิตรหรือผู้ยึดครอง: นโยบายของรัฐบาลไทยต่อเชลยศึกชาวดัตช์-เชลยศึกสัมพันธมิตรในประเทศไทยระหว่างสงคราม-นโยบายของรัฐบาลไทยต่อเชลยศึกดัตช์หลังสงครามยุติลง-ปัญหาระหว่างทหารดัตช์กับรัฐบาลไทย-การฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับเนเธอร์แลนด์-สรุป/ ผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำ: เชลยศึกชาวเกาหลีกับสภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก-ทหารเกาหลีในกองทัพญี่ปุ่น-การจัดการเชลยศึกชาวเกาหลีหลังญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงคราม-ส่งเชลยศึกกลับบ้าน-สรุป/ บทสรุป/ บรรณานุกรม

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว