อำนาจนำพระนั่งเลก้าฯ: การเมืองวัฒนธรรมของชนชั้นนำต้นรัตนโกสินทร์

ผู้เขียน: ปวีณา หมู่อุบล

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

234.00 บาท

275.00 บาท ประหยัด 41.00 บาท (14.91 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

การเมือง ความขัดแย้ง และการช่วงชิงอำนาจของชนชั้นนำสมัยต้นรัตนโกสินทร์ และการใช้วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง < แสดงน้อยลง การเมือง ความขัดแย้ง และการช่วงชิงอำนาจของชนชั้นนำสมัยต้นรัตนโกสินทร์ และการใช้วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Let’s Read อ่านหนังสือคุ้ม ลดเลยสูงสุด 30%*

234.00 บาท

275.00 บาท
275.00 บาท
ประหยัด 41.00 บาท (14.91 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 คะแนน

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com ช้อปหนังสือคุ้ม ลดแรง ต่อที่ 2 ลดเลยทันที 150 เมื่อซื้อครบ 1200.-
จำนวนหน้า
264 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 20.9 x 1.1 CM
น้ำหนัก
0.302 KG
บาร์โค้ด
9789740218807

รายละเอียด : อำนาจนำพระนั่งเลก้าฯ: การเมืองวัฒนธรรมของชนชั้นนำต้นรัตนโกสินทร์

    ความเปลี่ยนแปลงในสมัยต้นรัตนโกสินทร์โดยเฉพาะการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เปิดโอกาสให้ชนชั้นนำสามารถแสวงหาและสั่งสมความมั่งคั่งได้มากขึ้น ปัจจัยดังกล่าวทำให้การเมืองของชนชั้นนำต้นรัตนโกสินทร์โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 3 เต็มไปด้วยการสั่งสมอำนาจและบารมีแข่งขันกัน สภาวะเช่นนี้ทำให้สถานะบนราชบัลลังก์ของรัชกาลที่ 3 สั่นคลอน พระองค์จึงต้องดำเนินพระราชกรณียกิจทางวัฒนธรรมเพื่อเสริมสร้างความชอบธรรมบนราชบัลลังก์

   โดยพระราชกรณียกิจทางวัฒนธรรมที่รกาลที่ 3 เลือกใช้ ก็ได้แก่การซ่อมสร้างวัดวาอารามต่างๆ โดยเฉพาะวัดอรุณฯและวัดโพธิ์ เพื่อแสดงตนว่าเป็นผู้ดำเนินรอยตามรัชกาลที่ 1 อีกทั้งเรื่องราวซึ่งปรากฏอยู่ในจารึก จิตกรรมฝาผนัง ตำราเรียน และตำราทางศาสนา ยังนำเสนอภาพของรัชกาลที่ 3 ในฐานะผู้มีความสามารถและบุญบารมีสูงส่ง เป็นผู้สนับสนุนพระพุทธศาสนา เป็นผู้นำพาพสกนิกรชาวสยามให้ข้ามพ้นสังสารวัฏ

สารบัญ: คำนำผู้เขียน/ บทที่1 บทนำ/ บทที่2 เศรษฐกิจและสังคมในช่วงต้นรัตนโกสินทร์-การขยายตัวของเศรษฐกิจการค้า-ความหลากหลายของผู้คนตอนต้นรัตนโกสินทร์-ชาวจีน-ชาวลาว-การปกครองชนต่างชาติต่างภาษาโดยรัฐบาลกรุงเทพฯ-ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจกับความตึงเครียดทางการเมืองในหมู่ชนชั้นนำ-แสวงหาผลประโยชน์จากการค้า-ระบบเจ้าภาษีนายอากรและการขัดผลประโยชน์กันในหมู่ชนชั้นนำ/ บทที่3 สถานภาพและพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว-ภูมิหลังทางการเมืองของกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์-เครื่อข่ายทางอำนาจของพระนั่งเกล้า-คู่แจ่งทางการเมืองของพระนั่งเกล้าฯ/ บทที่4 การเสริมสร้างพระราชอำนาจนำผ่านพระราชกรณียกิจทางสัฒนธรรม-ความรู้ว่าด้วย "โลกนี้" ตามไตรภูมิแบบใหม่-"โลกนี้" ที่เป็นจริง กับความรู้เรื่องโลกนอกไตรภูมิ-"โลก" ที่ท้าทายและความรู้ใหม่จากตะวันตก-วชิรญาณภิกขุ คู่แข่งทางการเมืองผู้ทรงภูมิ/ บทที่5 ปฏิบัติการทางอุดมการณ์เพื่อการสร้างพระราชอำนาจนำ-วัดวากับการสถาปนาพระราชอำนาจนำ-วัดอรุณราชวราราม-วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม-ความรู้เกี่ยวกับ "โลกนี้" ในโคลงโลกนิติ คัมภีร์วุตโตทัย และเรื่องกฤษณาสอนน้องคำฉันท์-เครือข่ายความรู้กับการเสริมสร้างพระราชอำนาจนำ-ความรู้ในนางนพมาศกับการสร้างพระราชอำนาจนำ-การนิยม "ความเป็นไทย" เพื่อการสร้างพระราชอำนาจนำ-การแสดง "ทานบารมี" ให้ปรากฏอย่างยิ่งใหญ่/ บทที่6 สรุป/ บรรณานุกรม

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว