รายละเอียด : ธำรงรัฐกษัตรา:เบื้องหลังอำนาจประวัติศาส
"ความมั่นดงของชาติ" คือสิ่งสำคัญที่รัฐไทยต้องรักษาไว้โดยเฉพาะในห้วงยามที่เกิดวิกฤตทางการเมืองขึ้นมา ซึ่งกลไกหนึ่งที่จะเข้ามาเสริมให้ความมั่นคงไม่สั่นคลอนนั้นคือการสร้าง "ประวัติศาสตร์แห่งชาติ" เพื่อกำหนดดวามสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้กุมอำนาจทางการเมืองกับคนในสังคมธำรงรัฐกษัตรา: เบื้องหลังอำนาจประวัติศาสตร์ความมั่นคงไทย จะเผยให้เห็นแนวคิดที่แฝงฝังอยู่ในชุดความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย นับตั้งแต่ยุคสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนถึงยุคแห่งการสร้างความปรองดองภายหลังการรัฐประหาร 2557 แม้ชุดประวัติศาสตร์ดังกล่าวจะผ่านการผลิตซ้ำมาหลายช่วงเวลาทั้งการสร้างเพิ่มเติมจากของเดิม การล้มล้างด้วยของใหม่รวมถึงการช้อนทับกันของประวัติศาสตร์ชุดเก่าและชุดใหม่หว่าเรื่องราวของ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" กลับดำรงอยู่เรื่อยมา กลายเป็น "ประวัติศาสตร์แห่งชาติ" ที่ผู้คนต้องธำรงรักษาและจดจำ
คำนำ : ธำรงรัฐกษัตรา:เบื้องหลังอำนาจประวัติศาส
บทนำ
1 ปัญหาความมั่นคงไทยในประวัติศาสตร์ชาติ
เมื่อแรกสร้างรัฐชาติสมัยใหม่
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามคอมมิวนิสต์ในไทย
หลัง 14 ตุลาฯ ใช้การเมืองนำการทหาร
วิกฤตเศรษฐกิจ 2540
สงครามสีเสื้อ
2 ชุดความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย
พัฒนาการของความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยใหม่ฉบับทาง(ราช)การ
แนวคิดประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ละช่วงเวลา
3 คนจีนในแผ่นดินพระบาทสมเด็จมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว: ภัยคุกคามสยามเมื่อแรกสร้างรัฐสมัยใหม่
ความเป็นมาของคนจีนที่นำไปสู่การมีอำนาจและอิทธิพลในสยาม
อิทธิพลของแนวคิดชาตินิยมและการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีนที่มีผลต่อสยาม
ภัยคุกคามสยามจากคนจีนในสมัยรัชกาลที่ 6
นโยบายความมั่นคงสยามที่มีต่อคนจีน
4 ประวัติศาสตร์ไทยใหม่และนโยบายวัฒนธรรมในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
การเมืองไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487
บทบาทและผลงานการสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทยของหลวงวิจิตรวาทการ
จาก “สยาม” มาใช้นามว่า “ประเทศไทย”
5 ประวัติศาสตร์พระบารมีแห่งสถาบันกษัตริย์กับวาทกรรมการพัฒนาช่วงสงครามเย็น
สถานะสถาบันพระมหากษัตริย์ใน 3 รัฐบาลจอมพล
ประวัติศาสตร์ไทยสู้ภัยคอมมิวนิสต์ในยุคสงครามเย็น
6 พระบารมีปกเกล้ากับประวัติศาสตร์ชาติไทยในยุคเปรมาธิปไตย
ราชาชาตินิยมภายใต้รัฐธรรมนูญและพระมหากรุณาธิคุณ
การสร้างความเป็นหนึ่งเดียวในชาติด้วยพระบารมีปกเกล้า
ประวัติศาสตร์หลังยุค 14 ตุลาฯ (ประวัติศาสตร์ 2 กระแส)
7 ประวัติศาสตร์แห่งธรรมราชาและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความขัดแย้งครั้งใหญ่หลังรัฐบาลพรรคเดียว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8 ประวัติศาสตร์เพื่อความปรองดองของรัฐบาล คสช.
บทบาท คสช. และรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับการสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทยฉบับปรองดอง
การรื้อถอนความทรงจำของการปฏิวัติ 2475 และประวัติศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตย
แนวคิดพระบารมีเป็นที่พึ่งกับการสร้างประวัติศาสตร์เพื่อความปรองดองหลังรัฐประหาร 2557
ความขัดแย้งที่ยังแก้ไม่ได้ ความปรองดองที่ยังไม่เห็นผล
บทสรุป
การปะทะกันของชุดความคิดทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ชุดใดที่จะสร้างความมั่นคงของชาติให้ยั่งยืน
ประวัติศาสตร์เพื่อความมั่นคงในอำนาจส่งผลอะไรต่อสังคมไทย
กล่าวโดยสรุป