การแปลวรรณกรรม

ผู้เขียน: วัลยา วิวัฒน์ศร

สำนักพิมพ์: อ่าน๑๐๑

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , หนังสือสารคดี

0 (0) เขียนรีวิว

339.00 บาท

399.00 บาท ประหยัด 60.00 บาท (15.04 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 13 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Let’s Read หนังสือคุ้ม กับโค้ดลด คุ้ม คุ้ม ลดสูงสุด 30%*

339.00 บาท

399.00 บาท
399.00 บาท
ประหยัด 60.00 บาท (15.04 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 13 คะแนน

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
424 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
24.3 x 17 x 2.2 CM
น้ำหนัก
0.691 KG
บาร์โค้ด
9786168310359

รายละเอียด : การแปลวรรณกรรม

   กลั่นจากประสบการณ์การทำงานมายาวนานของ วัลยา วิวัฒน์ศร ผู้แปลวรรณกรรมอย่างสุขใจมาต่อเนื่องถึง 30 ปี มีผลงานแปลเผยแพร่แล้วไม่ต่ำกว่า 30 เรื่อง  นับเป็นตำราเล่มสำคัญที่สืบเนื่องมาจากงานสอน งานวิจัย งานเขียน และงานแปล
   เนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ลักษณะเฉพาะของตัวบทวรรณกรรม ทฤษฎีการแปลจากโลกตะวันตกและจากประสบการณ์การแปลของผู้เขียนตำรา การแปลโดยรักษาบริบททางวัฒนธรรมในต้นฉบับภาษาเดิม สาธิตวิธีแปล 3 ขั้นตอนแรกตามทฤษฎีใหม่ของผู้เขียน รวมถึงตัวอย่างการตรวจแก้ต้นฉบับจากต่างประเทศและในประเทศไทย
  อ้างอิงถึงวรรณกรรมเล่มสำคัญของนักประพันธ์นามอุโฆษ อาทิ วอลแตร์, ออนอเร่ เดอ บัลซัค, กี เดอ โมปาสซ็อง, ฟร็องซัวส์ โมริยัค, อ็องเดร มาลโรซ์, อุมแบร์โต้ เอโก้, ฟอร์ตูนาโต้ อิสราแอล, ฌ็อง-โดมินิก โบบี้, มิลาน กุนเดร่า
  ผลงานของนักแปลชั้นครู ผู้ได้รับอิสริยาภรณ์ศิลปะและอักษรศาสตร์ชั้นอัศวิน จากกระทรวงวัฒนธรรมของฝรั่งเศส (2541) ได้รับรางวัลนักแปลดีเด่น สุรินทราชา (2556)  และได้รับรางวัลหนังสือแปลดีเด่น พระยาอนุมานราชธน (2557)


สารบัญ : การแปลวรรณกรรม

    บทนำ

    บทที่ 1  ลักษณะเฉพาะของตัวบทนวนิยายและเรื่องสั้น
    1.1  ภาษาวรรณคดี
    1.1.1  วิธีทำงานของบัลซัค
    1.1.2  วิธีทำงานของโมปาสซ็อง
    1.1.3  วิธีทำงานของโบบี้
    1.2  โลกทัศน์และสารของผู้แต่ง
    1.2.1  วิธีคิดของกุนเดร่า
    1.2.2  ข้อเขียนเชิงทฤษฎีของบัลซัค
    1.2.3  บริบททางศาสนา สังคม และการเมือง อันเป็นที่มาของเรื่อง
    1.3  ความเป็นสากลข้ามมิติเวลา มิติสถานที่และวัฒนธรรม
    1.3.1  ข้อคิดของแอ๊ดเล่อร์และดอเร็น
    1.3.2  ตัวอย่างจากบทวิจารณ์ ก็องดิด
    1.3.3  ตัวอย่างจากบทวิจารณ์ ชุดประดาน้ำและผีเสื้อ
    1.4  การสื่อสารระหว่างตัวบทวรรณกรรมกับผู้อ่าน
    1.4.1  วัตถุประสงค์ในการอ่าน
    1.4.2  ช่วงสมัยของผู้อ่าน
    1.4.3  บทบาทและความสำคัญของผู้อ่าน
    1.4.4  ตัวบทของผู้อ่าน-ผู้แปล

    บทที่ 2  ทฤษฎีการแปล
    2.1  ประสบการณ์การแปล
    2.1.1  ประสบการณ์การแปล ก็องดิด
    2.1.2  ประสบการณ์การแปล เจ้าหนู
    2.1.3  ประสบการณ์การแปล ซาดิก
    2.1.4  ประสบการณ์การแปล ราชมรรคา
    2.1.5  ประสบการณ์การแปล ชุดประดาน้ำและผีเสื้อ
    2.1.6  ประสบการณ์การแปล พ่อกอริโยต์
    2.1.7  ประสบการณ์การแปล เออเฌนี กร็องเด้ต์
    2.1.8  ประสบการณ์การแปล จดหมายจากหมู่เกาะชเลจร
    2.1.9  ประสบการณ์การแปล ซึ่งมิอาจปลอบประโลม
    2.1.10 ประสบการณ์การแปล คนเถื่อน
    2.1.11 ประสบการณ์การแปล มาตา และ เตแรส เดสเกรูซ์
    2.1.12 ประสบการณ์การแปล ดาร์ตาญังกับสามทหารเสือ
    2.1.13 ประสบการณ์การแปล เรือนแรมสีแดง
    2.1.14 ประสบการณ์การแปล จุมพิตสีขาว
    2.1.15 ประสบการณ์การแปล นักบินรบ
    2.1.16 ประสบการณ์การแปล จดหมายถึงแม่
    2.1.17 ประสบการณ์การแปล ฝ่ารัตติกาล
    2.2  ทฤษฎีการแปลของตะวันตก
    2.2.1  หลักการแปลช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
    2.2.2  ทฤษฎีการแปลช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
    2.2.2.1 งานของเออแฌน เอ. ไนด้า และชาร์ลส์ อาร์. เทเบ้อร์
    2.2.2.2 งานของฌ็อง ดาร์เบลเนต์
    2.2.2.3 งานของนักแปล-นักวิชาการสถาบันการแปลและล่าม (ESIT)
    2.2.2.4 งานของฟอร์ตูนาโต้ อิสราแอล
    2.2.2.5 อุมแบร์โต้ เอโก้ กับการแปลวรรณกรรม
    2.3  ทฤษฎีการแปลวรรณกรรมจากประสบการณ์การแปล
    2.3.1  การทำความเข้าใจต้นฉบับ
    2.3.2  การถ่ายทอดความหมาย/การแปล
    2.3.3  การตรวจสอบและแก้ไขโดยผู้แปล
    2.3.4  การตรวจแก้โดยบรรณาธิการต้นฉบับแปล
    2.4  คำนิยามการแปลวรรณกรรม

    บทที่ 3  ความสำคัญของการแปลจากต้นฉบับภาษาเดิม
    3.1 การแปลโดยรักษาบริบททางวัฒนธรรมในต้นฉบับภาษาเดิมและโดยคำนึงถึงผู้อ่านฉบับแปล:กรณีศึกษาเปรียบเทียบ ชุดประดาน้ำและผีเสื้อ กับ The Diving Bell and the Butterfly
    3.1.1  การใช้ราชาศัพท์
    3.1.2  การอ้างเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
    3.1.3  การอ้างชื่อเฉพาะ
    3.1.4  ชื่อเรื่องและชื่อบท
    3.1.5  ภาษาต่างประเทศในต้นฉบับภาษาเดิม
    3.2 การแปลโดยรักษาลีลาของนักประพันธ์ : กรณีศึกษาเปรียบเทียบสำนวนแปลภาษาอังกฤษ 2 สำนวน เรื่อง Eugénie Grandet
    3.2.1  ปุริมบทหรือการเปิดเรื่อง
    3.2.2  บทบรรยายบุคลิกลักษณะของกร็องเด้ต์
    3.2.3  อุบายของกร็องเด้ต์
    3.2.4  ปัจฉิมบทหรือการปิดเรื่อง

    บทที่ 4  จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
    4.1  การพิจารณากลวิธีการประพันธ์และการแปล
    4.1.1  มุมมอง
    4.1.1.1 การแปลมุมมองในงานของวอลแตร์
    4.1.1.2 การแปลมุมมองในงานของบัลซัค
    4.1.1.3 การแปลมุมมองในงานของมาลโรซ์
    4.1.2  บุคลิกลักษณะตัวละคร
    4.1.2.1 การแปลบทบรรยายลักษณะทางกายภาพของตาเฒ่ากร็องเด้ต์
    4.1.2.2 การแปลบทบรรยายลักษณะทางกายภาพของปัวเร่ต์
    4.1.2.3 การแปลบทบรรยายลักษณะทางกายภาพของเออเฌนี กร็องเด้ต์ และมาดมัวแซลล์โดบริยง
    4.1.3  มิติสถานที่และมิติเวลา
    4.1.3.1 การแปลมิติสถานที่และมิติเวลาใน ซาร์ราซีน
    4.1.3.2 การแปลมิติสถานที่และมิติเวลาใน พ่อกอริโยต์
    4.2 การพิจารณาภาษาและการแปล
    4.2.1  ภาษาเก่า-ภาษาใหม่
    4.2.1.1 การแปลชื่อทวีป ประเทศ และเมือง
    4.2.1.2 การแปลมาตรา
    4.2.1.3 การแปลคำศัพท์
    4.2.1.4 การแปลคำสรรพนาม
    4.2.1.5 การเขียนประโยคให้เป็นภาษาเก่า
    4.2.2  ระดับภาษา
    4.2.2.1 การแปลภาษาเขียน-ภาษาปาก
    4.2.2.2 การแปลภาษายาก-ภาษาง่าย
    4.2.3  เสียงในภาษา
    4.2.3.1 เสียงกับความหมาย
    4.2.3.2 การแปลเสียงในภาษา 

    บทที่ 5  การตรวจแก้ต้นฉบับแปลและหนังสือแปล
    5.1 ความเป็นมาของการตรวจแก้ต้นฉบับแปลในต่างประเทศ
    5.2 ความเป็นมาของการตรวจแก้ต้นฉบับแปลในประเทศไทย
    5.3 บรรณาธิการต้นฉบับ : นิยาม สิทธิ และจรรยาบรรณ
    5.4 ประสบการณ์การตรวจแก้ต้นฉบับแปลและหนังสือแปล

    บทส่งท้าย

    ภาคผนวก
    สารคดีเรื่อง ดำหาชุดประดาน้ำ โบยบินไปกับผีเสื้อ

    เชิงอรรถ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว