คู่มือทนายความคดีเกี่ยวกับความเท็จ

ผู้เขียน: ดร.สุพิศ ปราณีตพลกรัง

สำนักพิมพ์: สนพ.บัณฑิตอักษร

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 (0) เขียนรีวิว

400.00 บาท

470.00 บาท ประหยัด 70.00 บาท (14.89 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 16 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com ติวเข้ม คะแนนดี หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ ความรู้ ลดสูงสุด 30%*

400.00 บาท

470.00 บาท
470.00 บาท
ประหยัด 70.00 บาท (14.89 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 16 คะแนน

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
จำนวนหน้า
538 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
18.2 x 25.8 x 2.6 CM
น้ำหนัก
0.959 KG
บาร์โค้ด
9786168314265

รายละเอียด : คู่มือทนายความคดีเกี่ยวกับความเท็จ

   คดีเกี่ยวกับความเท็จแนวทางปฏิบัติและหลักจากคำพิพากษาศาลฎีกา


คำนำ : คู่มือทนายความคดีเกี่ยวกับความเท็จ

  กล่าวความเท็จนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำ เพราะเป็นการกระทำที่แสดงถึงความไม่น่าไว้วางใจ ไม่มีความจริงใจต่อกัน แม้กระทั่งในทางพระพุทธศาสนาก็ถือว่า การกล่าวความเท็จ เป็นการผิดศีล ผิดข้อห้ามประการหนึ่งของศีลห้าที่พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติ และถือว่าเป็นข้อที่สำคัญที่สุด เนื่องจากหากละเมิดศีลข้อนี้ได้ ก็ย่อมการทำผิดหรือละเมิดศีลข้อที่เหลือได้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม การโกหกหรือกล่าวเท็จก็มีอยู่ ซึ่งผลที่ติดตามมานั้นมีมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับความร้ายแรงตลอดจนการดำเนินการต่าง ๆตามความเท็จนั้น ในทางกฎหมายจึงมีบทบัญญัติเกี่ยวกับความผิดเกี่ยวกับกรณีความเท็จไว้หลายฐาน โดยมุ่งหมายตรงจุดที่ว่าการกล่าวความเท็จนั้นเกิดผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมหรือไม่ มีผลต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมหรือไม่ ซึ่งมีการบัญญัติแยกย่อยไปตามกรณีต่าง ๆ เช่น การแจ้ง
ความเท็จต่อเจ้าพนักงาน แกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็นเท็จ ฟ้องเท็จเบิกความเท็จ ทำหลักฐานเท็จ ตลอดจนการกระทำต่อเอกชนด้วยกัน เช่นการหลอกลวง ฉ้อโกง เป็นต้น ดังนั้น จึงเห็นสมควรศึกษารวบรวมเกี่ยวกับความผิดต่าง ๆ ที่เป็นผลมาจากความเท็จ โดยมุ่งศึกษาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับ
คดีต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจลึกซึ้งในกฎหมายเรื่องนั้น ๆ จึงนำเสนอในส่วนของคำพิพากษาฎีกาเป็นหลัก ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติต่อไปAttorney285
 

สารบัญ : คู่มือทนายความคดีเกี่ยวกับความเท็จ

    คำนำ
    บทที่ ๑ บททั่วไป
    บทที่ ๒ ความผิดฐานแจ้งความเท็จ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    บทที่ ๓ แกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็นเท็จ
    บทที่ ๔ เจ้าพนักงานทำเอกสารเป็นเท็จ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    บทที่ ๔ แจ้งข้อความอันเป็นเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา 
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    ๑. เกี่ยวกับสถานะของมาตรา ๑๗๒
    ๒. เกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
    ๓. เกี่ยวกับภาระการพิสูจน์
    ๔. เกี่ยวกับการบรรยายฟ้อง 
    ๕. เกี่ยวกับการนำสืบ
    ๖. เกี่ยวกับชั้นฎีกา 
    บทที่ ๖ แจ้งความเท็จว่ามีการกระทำความผิดเกิดขึ้น
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    บทที่ ๗ ฟ้องเท็จอาญาและความผิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 
    ความผิดฐานฟ้องเท็จ 
    เกี่ยวกับบทฉกรรจ์
    เกี่ยวกับการบรรเทาผลร้าย
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ
    สรุปกรณีต่าง ๆ เกี่ยวกับเหตุฉกรรจ์ เหตุยกเว้นโทษ
    เหตุบรรเทาโทษ
    เหตุฉกรรจ์ของความผิด
    บทที่ ๘ แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จลงในเอกสาร
    มหาชนหรือเอกสารราชการ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ
    บทที่ ๙ ผู้มีวิชาชีพทำคำรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    บทที่ ๑๐ ขายของโดยหลอกลวงอันเป็นเท็จ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ
    เกี่ยวกับผู้เสียหาย
    ผู้เสียหายคือผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการ
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ 
    เกี่ยวกับความผิดบทเฉพาะ
    บทที่ ๑๑ ความผิดฐานฉ้อโกง
    บทบัญญัติของกฎหมาย 
    องค์ประกอบความผิด
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ
    เกี่ยวกับผู้เสียหาย
    ข้อพิจารณาอื่น ๆ
    เกี่ยวกับการบรรยายฟ้อง
    ฉ้อโกงแรงงาน
    ข้อพิจารณาอื่นๆ
    เกี่ยวกับอำนาจของพนักงานอัยการในการเรียกคืน
    ทรัพย์สินที่เสียไป
    ฉ้อโกงโดยสั่งซื้ออาหารหรือเข้าอยู่ในโรงแรม
    เกี่ยวกับอำนาจของพนักงานอัยการ
    ชักจูงให้จำหน่ายทรัพย์โดยเสียเปรียบ
    ฉ้อโกงประกันวินาศภัย 

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%