พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ (ปกแข็ง)

ผู้เขียน: ศานติ ภักดีคำ

สำนักพิมพ์: ไทยกรุ๊ป โฮลดิ้งส์

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 (0) เขียนรีวิว

2,375.00 บาท

2,500.00 บาท ประหยัด 125.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 95 คะแนน

2,375.00 บาท

2,500.00 บาท
2,500.00 บาท
ประหยัด 125.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 95 คะแนน

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com New Year, New Me! ช้อปหนังสือหมวดจิตวิทยา How To 3 เล่ม ลดเพิ่ม 50.- , 5 เล่มขึ้นไป ลดเพิ่ม 150.-
จำนวนหน้า
240 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
26 x 26 x 2.5 CM
น้ำหนัก
1.646 KG
บาร์โค้ด
9789743502910

รายละเอียด : พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ (ปกแข็ง)

  ในยุคที่ไม่มีพรมแดนรัฐชาติเช่นปัจจุบัน แผ่นดินในบริเวณภาคตะวันออกและอีสานใต้ของไทยมีความสัมพันธ์กับบริเวณทะเลสาบเขมรมาเป็นเวลานาน ดังปรากฎหลักฐานทางโบราณคดีและหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยเฉพาะได้พบศิลาจารึกของพระเจ้ามเหนทรวรมันและศิลาจารึกของพระเจ้าภวรมันที่ ๒ กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ถือกันว่าอาณาจักรเจนละ (อาจเป็นชื่อที่จีนเรียกจากชื่อ "เศรษฐปุระ"ซึ่งเป็นชื่อของเมืองที่เป็นศูนย์กลางอำนาจของเจนละ ปัจจุบันคือโบราณสถานเมืองเศรษปุระในเมืองจำปาศักดิ์ ประเทศลาว) เป็นต้นกำเนิดของอาณาจักรขอม ซึ่งมีอาณาเขตตั้งแต่ที่ราบลุ่มทะเลสาบ มาจนถึงลาวใต้และอีสานใต้ในปัจจุบันพบหลักฐานเกี่ยวกับศิลาจารึกของพระเจ้ามเทนทรวรมัน(เจ้าชายจิตรเสน) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละในประเทศไทยประมาณ๑๐ หลักได้แก่ จารึกช่องสระแจง (จังหวัดสระแก้ว) จารึกผนังถ้ำเป็ดทลงด้านนอกและจารึกผนังถ้ำเปิดทอง (จังหวัดบุรีรัมย์) จารีกวัดศรีเมืองแอม(จังหวัดขอนแก่น) จารึกปากน้ำมูล ๑ - ๒ (จังทวัดอุบสราชธานี) จารึกวัดสุปัฏนาราม ๑ (จังหวัดอุบลราชธานี) เป็นต้น จารึกเหล่านี้พบตั้งแต่บริเวณปากแม่น้ำมูลในจังหวัดอุบลราชธานีจนถึงจึงจังหวัดสระแสดงให้เห็นว่าดินแดนบริเวณนี้นำจะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรเจนละอย่างน้อยตั้งแต่สมัยพระเจ้ามเหนทรวรมัน

   Midway through the first millennium, an era with no dernarcatedterritorial boundaries or nation states, the eastern and the southern portionsof Thailand's northeastern region enjoyed a close relationship with the peoplesliving around the Tonle Sap Lake. This is revealed through monuments andinscriptions attesting to exchanges between the many inhabitants of the area.The earliest evidence of this close association can be found in an inscriptionby King Mahendravarman (a.k.a. Prince Citrasena; reigned 607-616) and,later, King Bhavavarman II (reigned 635-657), 7th-century monarchs ofthe Chenla Kingdom.

    Chenla (the name that the Chinese gave it) flourished between the

6th and 9th centuries in what would later become Cambodia. Scholars have

conjectured that its capital was the town modern scholars know as

Shreshthapura located in Champasak province in southern Laos. It is

thought that the Khmer Kingdom-which would ultimately cover an area

bounded by the lowlands of Tonle Sap Lake through southern Laos, and.

west to the southern extremities of northeastern Thailand-originated.

here.

   This contention of a strong Khmer presence is based upon 10inscriptions attributed to King Mahendravarman. They include the ChongSa Jang Inscription (Sa Kaeo province), the inscription on the wall ofPed Tong Cave (Buriram province), Wat Sri Muang Am Inscription (KhonKaen province), Pak Nam Mun Inscription No.1-2 (Ubol Ratchathani

province), and Wat Supattnaram Inscription No.1 (Ubol Ratchathaniprovince). These inscriptions were concentrated in an area betweenthe mouth of the Mun River in Ubol Ratchathani province and Sa Kaeoprovince to the south. Historians speculate that this area may have been part of the Chenla Kingdom.


คำนำ : พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ (ปกแข็ง)

 นับตั้งแต่มีการก่อตั้งอาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน ใน พ.ศ. ๒๔๘๙ เมื่อ ๖๕ ปีก่อน ได้มีการนำรูปแบบของพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม มาใช้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำองค์กรตั้งแต่แรกเริ่มจะมีการปรับเปลี่ยนรูปลักษณะไปตามยุคสมัยก็ตาม และเมื่อกลุ่มทีซีซีซี เข้ามาลงทุนในธุริษัทอาคเนย์ฯ ก็ยังคงยึดถือรูปลักษณะพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม เป็นตราสัญลักษณ์เช่นเดิม เพราะเราตระหนักดีว่า พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามเป็นสิ่งที่เป็นมงคล เป็นเสมือนสัญลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทยมื่อคณะผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอาคเนย์ฯ ดำริจะจัดทำหนังสือ เพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสที่ดำเนินกิจการมาครบ ๖๕ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔ นี้ จึงมีแนวคิดที่จะรวบรวมความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของแบบอย่างพระปรางค์ในประเทศไทยในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ สถาปัตยกรรมศิลปกรรม ตลอดจนคติความเชื่อในการสร้างพระปรางค์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญที่จะให้อนุชนชนรุ่นหลังซึมชับคุณค่าความเป็นไทย ไม่ให้สูญหายไปกับกาลเวลา ผมและคุณหญิงวรรณาจึงมีความกลุ่มบริษัทอาคเนย์ฯ ได้เล็งเห็นคุณค่าของการจัดทำหนังสือในลักษณะนี้ขึ้น และเมื่อได้ทราบว่าทำในชื่อ "พัฒนาการพระปรางศ์ในสยามประเทศ" เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ขอแสดงคณะผู้จัดทำ รวมทั้งขอขอบคุณนักวิชาการทุกท่านที่ได้ช่วยกันเก็บข้อมูลและเรียบเรียงจัดทำเป็นหนังสือขึ้งเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับสังคม จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือที่ทรงคุณค่าเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในเชิงวิชาการแก่ผู้ที่สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาอีกส่วนหนึ่งเกี่ยวกับประเทศไ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว