รายละเอียด : คติสัญลักษณ์และการออกแบบวัตอรณราชวราราม (ปกแข็ง)
วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดที่มีความเป็นมาเก่าแก่ยาวนานย้อนกลับไปได้ถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา และเป็นวัดหลวงที่มีความสำคัญมากในประวัติศาสตร์สังคมไทยในเวลาต่อมา วัดอรุณราชวรารามเคยเป็นทั้งวัดที่อยู่ภายในเขตพระราชวังในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี เคยเป็นวัดที่ประดิษฐานพระแก้วมรกด พระพุทธรูปที่มีความสำคัญที่สุดของสังคมไทย เป็นสถานที่ที่เกี่ยวกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับพระเจ้ากรุงธนบุรี พระมหากษัตริย์ที่มีความสำคัญมากที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์ไทยวัดอรุณราชวรารามถูกยกย่องให้เป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นวัดที่ประดิษฐานพระมหาธาตุหลวงประจำกรุงรัตนโกสินทร์หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม สถาปัดยกรรมที่งดงามทั้งตำแหน่งที่ตั้ง การออกแบบสถาปัดยกรรม และศิลปกรรมที่ประกอบเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นสถาปัตยกรรมอันยิ่งใหญ่ในแง่ของเทคโนโลยีการก่อสร้างที่ยังคงสร้างความประทับใจให้กับคนในยุคปัจจุบัน ถึงความกล้าหาญในการก่อสร้าง
สถาปัดยกรรมชนาดใหญ่ในพื้นที่ริมตลิ่งที่น้ำกัดเชาะอยู่ตลอดอดเวลา
ที่สำคัญคือวัดอรุณราชวรารามยังเป็นพระอารามหลวงที่พระมหากษัตริย์ในอดีตทรงกำหนดไว้สำหรับ
เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคเพื่อพระราชทานพระกฐินเป็นประจำทุกปี ซึ่งในกระบวนเสด็จจะประกอบด้วย
เรือพระราชพิธีที่สวยงาม โดยมีฉากหลังเป็นพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามอันงดงามตระการดาเป็นอย่างยิ่งนอกจากความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์แล้ว วัดอรุณราชวรารามยังมีความพิเศษในฐานะวัดอันเป็นแหล่งรวบรวมงานศิลปะและสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายชิ้นนับดั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงยุดตันรัตนโกสินทร์ ซึ่งงานศิลปะและสถาปัดยกรรมที่ปรากฏอยู่ คือกระจกสะท้อนอันสำคัญในการทำความเข้าใจพัฒนาการทางด้านศิลปะและสถาบัตยกรรมของสังคมไทยไทยได้เป็นอย่างดี
ด้วยความพิเศษดังกล่าวจึงเป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ ที่ต้องการจะนำเสนอความสำคัญของวัดอรุณราชวรารามในแง่มุมต่างๆ โดยนำเสนอผ่านเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการทางศิลปะและสถาปัตยกรรมที่สำคัญภายในวัด ตลอดจนคติสัญลัญลักษณ์ในการออกแบบงานศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมกรรมของวัดอรุณราชวราราม อันเป็นที่มาของการวางแผนผัง สัดส่วน รูปทรงทางสถาปัตยกรรม และองค์ประกอบประดับประดาต่างๆ โดยเนื้อทายในเล่มจะแบ่งออกเป็น ๓ ๓ ดังต่อไปนี้
คำนำ : คติสัญลักษณ์และการออกแบบวัตอรณราชวราราม (ปกแข็ง)
วัดอรุณราชวรารามฯ มีความผูกพันกับ อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน มาอย่างยาวนาน โดยได้นำรูปแบบลักษณะ "กลุ่มพระปรางค์" ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมหลักของวัด มาใช้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำบริษัททัทมันนที ๔ กรกฎาคม ๒๔๙ จนถึงปัจบัน ทั้งนี้ไม่เพียงเฉพาะความงดงามในเชิงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่คำว่า" 3 รณ" ซึ่งหมายถึงการเริ่มต้นแห่งความรุ่งเรืองอย่างไม่สิ้นสุด ก็ส่งเสริมให้ " พระปรางศ์" วัดอรุณราชวรารามฯนี้มีคุณค่าทางด้านจิตใจอย่างยิ่งต่อบุคลากรของอาคเนย์ฯ มาโดยตลอลลลอดพระอารามแห่งนี้ โดยจัดทำหนังสือ "ตติสัณลักษณ์และการออกแบบวัดอรุณราชวรารามฯ" นี้ขึ้นมา ซึ่งมีและคุณหญิงวรรณา มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่คณะผู้บริหารของกลุ่มอาคเนย์ฯ ได้ตระหนักถึงควาเป็นหนังสือที่มีเนื้อทาหลักเกี่ยวกับ "พระปรวงศ์" วัดอรุณราชวรารามฯ ที่เนั่นอธิบายถึงสาระสำคัญของการออกแบบในเชิง "คสิ" ทางพระพุทธศาสนา ในมุมมองอันเป็นภาพรวมของพระอาราม ซึ่งชี้ให้เห็นที่มาของแนวความคิด ความเชื่อตลอดจนกระบวนการในการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่สอดรับกับคติความเชื่อดังกล่าวได้อย่างชัดเจนจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยความสมบูรณ์ของเนื้อหาประกอบกับการจัดรูปเล่มที่กระชับและมีภาพประกอของหนังสือเล่มนี้ จะสร้างคุณค่าและความประทับใจในภูมิปัญญาของบรรพชนที่ได้รังสรรค์มรดกทางวัฒธรรรรมของชาติไทยที่เปี่ยมลันด้วยความงามและความทมายที่ลึกซึ้งของสถาปัตยกรรมแห่งนี้ ต่อชาวไทยและชาวต่างชาติ ทั้งในปัจจบันและอนาคต
เจริญ - คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี
ประธาน - รองประธาน
กลุ่มบริษัททีซีซี
ด้วยความตั้งใจและมุ่งมั่นของคณะผู้บริหารอาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน ในการจัดทำหนังสือ " คติ สัญลักษณ์และการออกแบบวัดอรุณราชวรารามฯ" เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์สถาปัดยกรรมหนังสือเล่มที่ ๒ ต่อจากเล่มแรกคือ "พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ" ที่ค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลได้อย่างกระชับชัดเจนและเข้าใจง่าย จึงนับเป็นกิจกรรมหนึ่งซึ่งเป็นการเผยแพร่ความรู้เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมไทยข้าพเจ้าขอแสดงความชื่นชมอย่างยิ่งต่อความสำเร็จในการจัดทำหนังสือเล่มนี้ ที่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความรู้ความเข้าใจต่อคุณค่าและความหมายของวัดอรุณราชวราชวรารามฯ หนึ่งในพระอารามหลวงที่สำคัญและยิ่งใหญ่ของประเทศไทยพระอารามที่มีองค์ "พระปรวงศ์" อันเลื่องชื่อทั้งในด้านความงดงามทางศิลปะสถาปัตยกรรม ตลอดจนความสัมฤทธิ์ผลในการถ่ายทอด" ตติความเชื่อ" ทางศาสนา ที่สะท้อนออกมาเป็นความสมบูรณ์ที่ลงตัว ทั้งในมิติทางแผนผัง แบบอย่างลักษณะ ตลอดจนการประดับตกแต่งขององค์ประกอบทางสถาปัดยกรรมที่มากด้วยเทคนิคนิดวิธีและสีสันด้านวัสด ซึ่งเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ได้นำเสนอไว้อย่างละเอียดครบถ้วน ทั้งในส่วนของสาระเกี่ยวกับที่มา คติสัญลักษณ์ และการออกแบบทางสถาปัตยกรรมของอาคารทุกหลังในเขตพุทธาวาสขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ที่ให้ความสำคัญกับคุณค่าและความหมายในเชิงมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่มีต่อศาสนสถานแห่งนี้ ตลอดจนคณะจัดทำหนังสือชุดนี้ทุกท่าน ที่ได้ร่วมมือร่วมใจกันในการผลิตจนเสร็จสมบูรณ์อีกเล่มหนึ่ง ซึ่งข้าพเจ้ามั่นใจว่าความตั้งใจและความเหน็ตเหนื่อยที่ทุกท่านต่างทุ่มเทให้กับงานชิ้นนี้ จะเป็นประโยชน์ยิ่งต่อสังคมไทย อีกทั้งมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง จนก่อเกิดเป็นประกายของความรู้สึกนึกคิดและแรงบันดาลใจในสันที่จะช่วยกันดูแลรักษา ทนุถนอม และหวงแทนต่อโบราณสถานอันล้ำท่านที่ที่นี้ตอดไป
พล.ต.อ.(สนอง วัฒนวรางกูร )
ประธานกรรมการอาคเนย์
กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน