เรื่องราวของไขมันในร่างกาย

ผู้เขียน: ทสึจิดะ ทาคาชิ

สำนักพิมพ์: สุขภาพใจ/Sukkhapabjai

หมวดหมู่: สุขภาพ ความงาม , สุขภาพ ความงาม

0 (0) เขียนรีวิว

213.75 บาท

225.00 บาท ประหยัด 11.25 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

  • ส่วนลด:
    ลด 5%
  • โปรโมชั่น:E-Book ทั้งเว็บลดทุกเล่ม 5% วันที่ 1 - 28 ก.พ. 68

213.75 บาท

225.00 บาท
225.00 บาท
ประหยัด 11.25 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 คะแนน

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • E-Book ADDICT อ่านฟิน ทั้งวัน ทั้งคืน ลดทั้งเว็บ ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 10% วันที่ 1 - 28 ก.พ. 68
จำนวนหน้า
129 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาดไฟล์
8.88 MB
ประเภทไฟล์
PDF
บาร์โค้ด
9786161406288

รายละเอียด : เรื่องราวของไขมันในร่างกาย

“ไขมันในร่างกาย” หลายคนอาจคิดว่าไขมันเป็น “สิ่งที่ไม่ดีต่อร่างกาย” แม้ว่า
หน้าที่ของไขมันในร่างกายเป็นสิ่งสำคัญมาก และขาดไม่ได้ต่อการดำรงชีวิตแต่ไขมันในร่างกาย
ที่เพิ่มขึ้นมากจนเกินไป ทำให้อ้วนขึ้นได้
ไขมันในร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไขมันใต้ผิวหนังและไขมันช่องท้อง ซึ่งไขมันใต้ผิวหนังปกคลุมทั่วร่างกาย ทำหน้าที่กักเก็บพลังงานรักษาอุณหภูมิและรองรับแรงกระแทก
ที่กระทบร่างกาย เพื่อปกป้องร่างกาย สะสมได้ง่ายบริเวณหน้าท้อง ต้นแขน ก้น และต้นขา
อีกประเภทคือไขมันช่องท้องเกาะรอบอวัยวะภายในมีหน้าที่ควบคุมอวัยวะภายในไม่ให้เคลื่อนที่
ไปมา หากมีมากเกินไปก็มักก่อให้เกิดโรคต่างๆ เพศหญิงมีไขมันใต้ผิวหนังมากกว่าเพศชาย ทำให้เกิด
โรค “อ้วนชนิดสะโพกใหญ่” ในขณะที่เพศชายจะเกิดโรค “อ้วนลงพุง” เนื่องจากมีไขมันช่องท้องมากกว่า
เพศหญิง
ความเข้าใจเบื้องต้น เกี่ยวกับไขมันในร่างกาย ทำให้เราเข้าใจหน้าที่ ระบบการทำงาน การเผาผลาญ และจำนวนไขมันแต่ละประเภทที่สะสมต่างกัน ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย กลับไม่มากพอสำหรับการเตรียมตัวรับมือกับโรคร้ายต่างๆ อันเกิดจากไขมัน

รายละเอียดเพิ่มเติม
วิธีการกินอาหารที่ลดไขมัน 4 วิธี คือ
1. กินอาหารให้ตรงเวลา 3 มื้อ และครบถ้วนทางโภชนาการ
2. เคี้ยวอาหารให้ละเอียด ช่วยให้การย่อยและดูดซึมดีขึ้น
3. กินอาหารที่มีกากใย ช่วยยับยั้งการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้อิ่มเร็ว
4. ห้ามรู้สึก “เสียดาย” ของเหลือ
การกินอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวมาก ทำให้คอเลสเตอรอลเพิ่มขึ้น จนควบคุมให้อยู่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไม่ได้
เรียงลำดับวิธีการปรุงที่มีไขมันและแคลอรีสูงจากมากไปน้อย ทอด > ปิ้งย่าง > ต้มนึ่ง
ไวน์แดงมี โพลีฟีนอล ซึ่งเป็นสารประกอบจากพืช ช่วยยับยั้งการสะสมไขมันช่องท้อง

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว